Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Uterine inversion มดลูกปลิ้น (ชนิดของมดลูกปลิ้น (Incomplete uterine…
Uterine inversion
มดลูกปลิ้น
ความหมาย
มดลูกปลิ้น หมายถึง การที่ผนังยอดมดลูกพลิกจากด้านในเป็นด้านนอก หรือโผล่ออกมาให้เห็นภายนอกช่องคลอด
ชนิดของมดลูกปลิ้น
Incomplete uterine inversion ภาวะที่ยอดมดลูกยุบตัวเข้ามาอยู่ในโพรงมดลูกเป็นบางส่วน
Prolapsed uterine inversion ภาวะที่ยอดมดลูกยุบตัว ผ่านออกมาพ้นปากช่องคลอด
Complete uterine inversion ภาวะที่ยอดมดลูกยุบตัวเข้ามาในโพรงมดลูกและผ่านพ้นปากมดลูกออกมา
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
เกิดจากการกระทาต่อมดลูก (force inversion)
1.1 กดบริเวณยอดมดลูกเพื่อทาคลอดรกขณะที่มดลูกคลายตัว
1.2 ดึงสายสะดือ
ขณะที่มดลูกคลายตัว
ขณะที่รกยังไม่ลอกตัว
เกิดขึ้นเอง (spontaneous inversion)
2.1 การหย่อนตัวของผนังมดลูก มักพบในรายที่ผ่านการคลอดมาแล้วหลายครั้ง
2.2 สายสะดือสั้น
2.3 Precipitate labour
การดันมดลูกกลับ
Bimanual uterine compression
ทำภายหลังจากที่ผู้คลอดได้รับยาแก้ปวด ยาที่ทาให้มดลูกคลายตัว หรือขณะที่ดมยาสลบ เพื่อให้มดลูกคลายตัวขณะที่ดันมดลูกกลับเข้าที่
รายที่ไม่สามารถดันมดลูกกลับได้
เนื่องจากมีการรัดแน่นตรงส่วนล่างของปากมดลูก อาจจำเป็นต้องผ่าตัดเพื่อดึงมดลูกกลับสู่ตาแหน่งเดิม ในรายที่เลือดออกมากจนควบคุมไม่ได้อาจจาเป็นต้องตัดมดลูกทิ้ง
การดูแลและการพยาบาล
แก้ไขภาวะช็อค โดยให้สารน้า เลือดทดแทน
งดการให้ยาบีบรัดมดลูกในกรณีที่ให้อยู่ควรหยุด
ถ้าแก้ไขภาวะช็อคไม่ได้ ห้ามดันมดลูกกลับ ควรใช้ผ้าชุบน้าเกลือคลุมมดลูกที่ปลิ้นไว้ รายงานแพทย์ทันที
เพื่อช่วยบรรเทาอาการดึงรั้งของรังไข่ให้ยกปลายเตียงให้สูง 50 องศา
ลดความเจ็บปวดโดยให้ยาตามแผนการรักษา เช่น Pethidine หรือ Morphine
จัดท่า Lithotomy ช่วยแพทย์ในการดันมดลูกกลับเข้าที่
หลังมดลูกเข้าที่แล้วให้ Methergin หรือ Oxytocin กระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัว ต่อ 24 ชม. และดูแลการให้ยาปฏิชีวนะ
อาการและอาการแสดง
ตกเลือด (Hypogenic shock)
ไม่สามารถคลายอดมดลูกได้
Complete uterine inversion จะเห็นด้านในของมดลูกที่มีสีแดงทางช่องคลอด
มีอาการแสดงของภาวะช็อคที่เกิดจากระบบประสาท (Neurogenic shock)
ปวดภายในช่องท้องอย่างรุนแรง
การวินิจฉัย
อาการแสดง
มีเลือดออกมากทันทีหลังคลอดหรือหลังรกคลอด
เจ็บปวด จากการที่เยื่อบุมดลูกภายในช่องท้องถูกดึงรั้ง
ภาวะช็อค จากการเสียเลือดและเจ็บปวด
การตรวจร่างกาย
คลาไม่พบยอดมดลูก หรือพบมดลูกเป็นร่องบุ๋ม
PV พบยอดมดลูกปลิ้นโผล่พ้นปากช่องคลอดหรือค้างในช่องคลอด มีเลือดไหลรินตลอดเวลา
การป้องกันการเกิดภาวะมดลูกปลิ้น
ซักประวัติและเฝ้าระวังผู้คลอดทุกราย โดยเฉพาะในรายที่มีภาวะเสี่ยง
ทาคลอดรกอย่างถูกวิธี
ภายหลังจากรกคลอด ควรคลึงมดลูกให้แข็ง
ห้ามดึงสายสะดือ เพื่อให้รกคลอด ก่อนการตรวจสอบการลอกตัวของรก
ห้ามกดดันยอดมดลูกลงมาก่อนที่จะคลึงมดลูกให้แข็งตัวเต็มที่ก่อน
การทาคลอดรก ควรคลายอดมดลูกให้แข็งตัวก่อนเสมอ
หลังคลอดควรพยายามให้มดลูกแข็งตัวเสมอ โดยเฉพาะผู้คลอดที่ไอ จาม ควรให้ยาบีบมดลูกหลังคลอด ควรแนะนำผู้คลอดให้คลึงมดลูกให้แข็งตัว
การพยาบาลเมื่อเกิดภาวะมดลูกปลิ้น
ภายหลังที่เกิดภาวะมดลูกปลิ้นและอยู่ในระหว่างรอการแก้ไข
ประเมินภาวะช็อค : V/S ปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด
ใช้ผ้าก็อซปราศจากเชื้อชุบน้าเกลือคลุมมดลูกส่วนที่ปลิ้นออกมา - - ปรับท้ายเตียงให้สูง ~ 50 องศา เพื่อลดการดึงรั้งของ broad ligament
แก้ไขภาวะช็อคโดยดูแลให้ได้รับ IV เช่น Ringer’s Lactate และเตรียมเลือดไว้ให้พร้อม
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา เช่น ยาบรรเทาปวด ยาคลายกล้ามเนื้อมดลูก เป็นต้น
ภายหลังจากที่ผู้คลอดได้รับการช่วยเหลือโดยดันมดลูกกลับเข้าที่แล้ว
V/S ทุก 15 นาทีใน 2 ชั่วโมงแรก หรือจนกว่าอาการจะคงที่
ประเมิน HF และการแข็งตัวของมดลูก ควรคลึงมดลูกเป็นระยะๆ
ประเมินปริมาณและลักษณะของเลือดที่ออกทางช่องคลอด
ประเมินกระเพาะปัสสาวะ
บันทึก I/O
ดูแลให้ได้รับยาตาม Rx. : ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก , ABO
ในรายที่เสียเลือดมาก ดูแลให้ได้รับเลือดชดเชยตาม Rx.
ดูแลด้านจิตใจ