Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้และรูปแบบการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์คิดสร้างสร…
ทฤษฎีการเรียนรู้และรูปแบบการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์คิดสร้างสรรค์และการคิดแก้ปัญหา
การวัดและประเมินความสามารถในการคิด
แนวทางของนักวัดกุล่มจิตมิติ (Psychometric)
แบบสอบมาตรฐานที่ใช้สําหรับวัดความสามารถในการคิด
แบบสอบมาตรฐานที่มีผู้สร้างไว้แล้ว สําหรับใช้วัดความสามารถในการคิด
การสร้างแบบวัดการคิดขึ้นใช้เอง
แนวทางของการวัดจากการปฏิบัติจริง(Authentic Performance Measurement)
เน้นการวัดจากการปฏิบัติในชีวิตจริงหรือคล้ายจริงที่มีคุณค่าต่อตัวผู้ปฏิบัติ
ทฤษฏี หลักการ และแนวคิดเกี่ยวกับ “การคิด” จากต่างประเทศ
กานเย (Gagne)
กลวิธีในการเรียนรู้ (Cognitive Strategies)
ภาษา (Verbal Information)
ทักษะทางปัญญา (Intellectual Skills)
การสร้างกฎ
การจําแนกแยกแยะ
การสร้างความคิดรวบยอด
การสร้างกระบวนการหรือกฎขั้นสูง
ทักษะการเคลื่อนไหว (Motor Skills)
เจตคติ (Attitudes)
กิลฟอร์ด (Guilford)
มิติด้านปฏิบัติการ (Operations)
กระบวนการต่าง ๆ ที่บุคคลใช้ในการคิด
มิติด้านผลผลิต (Products)
ผลของการคิด
ด้านเนื้อหา (Contents)
วัตถุ/ข้อมูลที่ใช้เป็นสื่อก่อให้เกิดความคิดซึ่งมีหลายรูปแบบ
ออซูเบล (Ausubel)
การเรียนรู้อย่างมีความหมายจะเกิดขึ้นได้ หากการเรียนรู้นั้นสามารถเชื่อมโยงกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีมาก่อน
ลิปแมน และคณะ (Lipman)
ปรัชญาเป็นวิชาที่จะช่วยเตรียมให้เด็กฝึกฝนการคิด
บรุนเนอร์ (Bruner)
เด็กเริ่มต้นเรียนรู้จากการกระทําจึงจะสามารถจินตนาการสร้างภาพในใจหรือในความคิดขึ้นได้ แล้วจึงถึงขั้นการคิดและเข้าใจในสิ่งที่เป็นนามธรรม
คลอสไมเออร์ (Klausmier)
กระบวนการเกิดขึ้นในสมองไม่สามารถสังเกตได้โดยตรงแต่สามารถศึกษาได้จากการอ้างอิงหรือการคาดคะเนกระบวนการนั้น
เพียเจต์ (Piaget,)
กระบวนการดูดซึม
กระบวนการที่เกิดจากการที่เด็กพบประสบหรือมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมใหม่
กระบวนการปรับให้เหมาะ
กระบวนการปรับโครงสร้างความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่ หรือสร้างโครงสร้างคามรู้ขึ้นมาใหม่เพื่อให้เข้ากับสิ่งเร้านั้นๆ
สเติร์นเบอร์ก (Sternberg)
ทฤษฎีสามศร (Triarchich Theory)
ทฤษฎีย่อยด้านประสบการณ์
ผลของประสบการณ์ที่มีต่อความสามารถทางปัญญา
ปัทฤษฎีย่อยด้านกระบวนการคิด
เป็นความสามารถทางสติปัญญาที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการคิด
ทฤษฎีย่อยด้านบริบทสังคม
สติปัญญาที่เกี่ยวข้องกับบริบททางสังคมและวัฒนธรรมของบุคคล
ทอแรนซ์ (Torrance)
ความยืดหยุ่นในการคิด (Flexibility)
ความคิดริเริ่มในการคิด (Originality)
ความคล่องแคล่วในการคิด (Fluency)
ปรัชญาการสร้างความรู้ (Constructivism)
การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในบุคคล บุคคลเป็นผู้สร้างความรู้จากการสัมพันธ์สิ่งที่พบเห็นกับความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิมเกิดเป็นโครงสร้างทางปัญญา
บลูม (Bloom)
การรู้ขั้นวิเคราะห์
การรู้ขั้นสังเคราะห์
การรู้ขั้นประเมินผล
การรู้ขั้นเข้าใจ
การรู้ขั้นความรู้
การ์ดเนอร์ (Gardner)
ทฤษฎีพหุปัญญา (Multiple Intelligences)
ด้านการเคลื่อนไหวร่างกายและกล้ามเนื้อ
ด้านการใช้เหตุผลเชิงตรรกะและคณิตศาสตร์
ด้านดนตรี
ด้านภาษา
ด้านมิติสัมพันธ์
ด้านการสัมพันธ์กับผู้อื่น
ด้านการเข้าใจตนเอง
ด้านความเข้าใจในธรรมชาติ
เลวิน (Lewin) นักทฤษฎีกลุ่มเกสต์ตัลท์ (Gestalt)
ความคิดของบุคคลเกิดจากการรับรู้สิ่งเร้าซึ่งบุคคลมักรับรู้ในลักษณะภาพรวมหรือส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อย
แนวทางการพัฒนาการคิดจากต่างประเทศ
ศูนย์พัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Center for Critical Thinking, Sonoma State University)
พัฒนาคู่มือการสอนเพื่อพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณสําหรับการสอนในโรงเรียนทุกระดับและยังได้ผลิตสื่อประเภทเทปเสียงบรรยายและวีดิทัศน์ขึ้นเป็นจํานวนมาก
จอยส์และเวลส์ (Joyce and Weil) เอนนิส (Ennis) และวิลเลียมส์ (Williams)
พัฒนารูปแบบการสอนที่เน้นการพัฒนากระบวนการคิดขึ้นหลายรูปแบบ
เอ็ดเวิร์ด เดอ โบโน (Edward De Bono)
การพัฒนาการคิดโดยใช้โปรแกรมสําเร็จรูป
การใช้เทคนิคหมวก 6 ใบ
แนวทาง รูปแบบ กระบวนการ วิธีการ เทคนิคการสอนและการพัฒนากระบวนการคิดของไทย
กรอบความคิดของ “การคิด”
การสอนการคิด (Teaching of Thinking)
เป็นการสอนที่เน้นเกี่ยวกับกระบวนการทางสมองที่นํามาใช้ในการคิดโดยเฉพาะเป็นการฝึกทักษะการคิด
การสอนเกี่ยวกับการคิด (Teaching about Thinking)
เป็นการสอนที่เน้นการใช้ทักษะการคิดเป็นเนื้อหาสาระของการสอน โดยการช่วยเหลือให้ผู้เรียนได้รู้และเข้าใจกระบวนการคิดของตนเอง
การสอนเพื่อให้คิด (Teaching for Thinking)
เป็นการสอนเนื้อหาวิชาการ โดยมีการเสริมหรือปรับเปลี่ยนเพื่อเพิ่มความสามารถในด้านการคิดของเด็ก
มิติของการคิดไว้ 6 ด้าน
มิติด้านทักษะการคิด
ทักษะที่เป็นแกนหรือทักษะขั้นพื้นฐานทั่วไป
ทักษะการคิดขั้นสูง
ทักษะการสื่อสาร
มิติด้านลักษณะการคิด
การคิดคล่อง
การคิดหลากหลาย
การคิดละเอียด
การคิดชัดเจนการคิดอย่างมีเหตุผล
มิติด้านคุณสมบัติที่เอื้ออํานวยต่อการคิด
มิติด้านกระบวนการคิด
มิติด้านข้อมูลหรือเนื้อหาที่ใช้ในการคิด
ข้อมูลเกี่ยวกับสังคมและสิ่งแวดล้อม
ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
ข้อมูลวิชาการ
มิติด้านการควบคุมและประเมินการคิดของตน