Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติการป้องกันและ แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ ในวัยรุ่น พ.ศ 2559 (5…
พระราชบัญญัติการป้องกันและ แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ ในวัยรุ่น พ.ศ 2559
5 กระทรวงหลักที่มีหน้าที่ออกกฎกระทรวงและระเบียบในหน่วยงานนำไปปฏิบัติ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงแรงงาน
กระทรวงมหาดไทย
ความหมายและสิทธิของวัยรุ่นภายใต้ พ.ร.บ
บุคคลอายุระหว่าง 10-19 ปี
วัยรุ่นที่มีสิทธิ
ได้รับการจัดสวัสดิการสังคม
ได้รับการปฏิบัติอย่างเสมอภาค
ได้รับข้อมูลข่าวสารและความรู้
ตัดสินใจด้วยตัวเอง
ได้รับการรักษาความลับ และความเสมอภาค
กลไกลสำคัญภายใต้ พ.ร.บ
คณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
หน้าที่
ปรับปรุง แก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องและเสนอความคิดเห็นในการออกกฎกระทรวง
เสนอรายงานต่อคณะรัฐมนตรีอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
กำหนดแนวทางปฏิบัติสำหรับหน่วยงานของรัฐและเอกชน
ให้คำปรึกษา แนะนำ และแก้ไขปัญหาขัดข้อง ในการดำเนินงาน แก่หน่วยงานของรัฐ
เสนอนโยบายและยุทธศาสตร์ต่อคณะรัฐมนตรี
คณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
รมต.กระทรวง สธ.พม .สธ กรรมการ
ปลัดกระทรวง มท.รง.วธ.กรรมการ
นายกรัฐมนตรี
อธิบดีกรมอนามัย กรรมการ
ตัวแทนเยาวชนหญิง ชายจากสภาเด็กและเยาวชนการ
ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน กรรมการ
ผู้แทนสำนักงานปลัดกระทรวง ศธ. ผู้ช่วยเลขานุการ
ผู้แทนกรมกิจการเด็กและเยาวชน ผู้ช่วยเลขานุการ
อธิบดีกรมอนามัย เลขานุการ
ผู้แทนกรมกิจการ สตรีและสถาบันครอบครัว ผู้ช่วยเลขานุการ
กฎกระทรวงและระเบียบนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
หมวด ๑
การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
มาตรา ๕ วัยรุ่นมีสิทธิตัดสินใจด้วยตนเอง
มาตรา ๖ ให้สถานศึกษาดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
(๒) จัดหาและพัฒนาผู้สอนให้สามารถสอนเพศวิถีศึกษา
(๓) จัดให้มีระบบการดูแล ช่วยเหลือ
(๑) จัดให้มีการเรียนการสอนเรื่องเพศวิถีศึกษาให้เหมาะสมกับช่วงวัยของนักเรียนหรือนักศึกษา
มาตรา ๗ ให้สถานบริการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
(๑) ให้ข้อมูลข่าวสารและความรู้เกี่ยวกับการป้องกัน
(๒) จัดให้มีบริการให้คำปรึกษาและบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ได้มาตรฐานสำหรับผู้รับบริการซึ่งเป็นวัยรุ่น
มาตรา ๘ ให้สถานประกอบกิจการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
(๑) ให้ข้อมูลข่าวสารและความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นแก่ลูกจ้างซึ่งเป็นวัยรุ่นอย่างถูกต้อง
(๒) จัดหรือสนับสนุนให้ลูกจ้างซึ่งเป็นวัยรุ่นเข้าถึงบริการให้คำปรึกษา และบริการอนามัยการเจริญพันธุ์
มาตรา ๙ ให้มีการจัดสวัสดิการสังคมที่เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
(๒) ส่งเสริมสนับสนุนให้หน่วยงานของรัฐ และหน่วยงานของเอกชนที่เกี่ยวข้อง
(๓) จัดให้มีการฝึกอาชีพตามความสนใจ
(๑) ส่งเสริมสนับสนุนให้สภาเด็กและเยาวชนระดับจังหวัดและระดับอำเภอสร้างเครือข่ายเด็กและเยาวชนในพื้นที่เพื่อเป็นแกนนำป้องกัน
(๔) จัดหาครอบครัวทดแทนในกรณีที่วัยรุ่นไม่สามารถเลี้ยงดูบุตรด้วยตนเองได้
(๕) การจัดสวัสดิการสังคมในด้านอื่น ๆ
มาตรา ๑๐ ให้ราชการส่วนท้องถิ่นมีอำนาจหน้าที่ดำเนินการให้วัยรุ่นในเขตราชการส่วนท้องถิ่นได้รับสิทธิตามมาตรา ๕
หมวด ๒
คณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
มาตรา ๑๑ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น”
(๓) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
(๔) ผู้แทนเด็กและเยาวชน
(๒) กรรมการโดยตำแหน่ง จำนวนแปดคน ได้แก่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงยุติธรรม ปลัดกระทรวงแรงงาน ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม และปลัดกรุงเทพมหานคร
(๑) นายกรัฐมนตรี เป็นประธานกรรมการ
มาตรา ๑๒ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
(๒) มีอายุไม่ตํ่ากว่าสามสิบปีบริบูรณ์
(๓) ไม่เป็นบุคคลล้มละลายหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต
(๑) มีสัญชาติไทย
(๔) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
(๕) ไม่ติดยาเสพติดให้โทษ
(๗) ไม่เคยต้องคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะร่ำรวยผิดปกติหรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ
(๖) ไม่เคยได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๘) ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก ให้ออก
มาตรา ๑๓ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสองปีนับแต่วันที่ได้รับการแต่งตั้ง
มาตรา ๑๔ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่ง
หมวด ๓
บทกำหนดโทษ
มาตรา ๒๓ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการตามมาตรา ๒๐ โดยไม่มีเหตุอันสมควร ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
บทเฉพาะกาล
มาตรา ๒๔ ในวาระเริ่มแรก ให้คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการ