Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเจริญเติบโตและพัฒนาการ (การส่งเสริมพัฒนาการ (พัฒนาการด้านภาษา (อายุ 1.6…
การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
การส่งเสริมการเจริญเติบโต
การประเมินการเจริญและภาวะโภชนาการ
การประเมินการเจริญเติบโต
การชั่งน้ำหนัก
ประเมินขาดสารอาหาร
100*น้ำหนักจริงที่ชั่งได้/น้ำหนักตามเกณฑ์มาตรฐาน
120 % ขึ้นไปเป็นเด็กอ้วน
90-110 % น้ำหนักปกติ
ขาดสารอาหาร
ต่ำกว่า 60 % ขาดระดับ3
60-74% ขาดระดับ2
75-90 % ขาดระดับ1
1-6 ปี (อายุปี*2) +8 kg.
3-12 เดือน [อายุ(เดือน)+9/]2
7-12 ปี [(อายุปี*7)-5]/2 kg
การเปลี่ยนแปลงน้ำหนัก
5-6 m =2เท่าแรกเกิด
แรกเกิด 3kg
1ปี = 3เท่าแรกเกิด
2ปี = 4เท่าแรกเกิด
7ปี=7เท่าแรกเกิด
การวัดส่วนสูง
2-12ปี (อายุปี*6)+77
6เดือนหลังเพิ่มเดือนละ 1.5 cm
6เดือนแรก เพิ่มเดือนละ2.5 cm
แรกเกิด 50 cm
เกณฑ์การประเมิน
100*ส่วนสูงที่วัดได้/ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน
ต้องอยู่เปอร์เซนไทล์ที่ 95
ถ้าต่ำให้ Ca และโปรตีนสูง
เส้นรอบศีรษะ
6เดือนแรก เพิ่มเดือนละ1.5cm
แรกเกิด 35 cm
6 เดือนหลัง เพิ่มเดือนละ 0.5cm
ขวบปีที่2 เพิ่มปีละ2-3 cm
ขวบปีที่3 เพิ่มปีละ0.5-2 cm
อายุ3-10ปี เพิ่ม1cm ทุก3ปี
วิธีวัด
ทาบรอบศีรษะผ่านท้ายทอยส่วนที่ยื่นที่สุด เหนือใบหู เหนือคิ้ว ส่วนหน้าผาก
ความต้องการสารอาหารในเด็กแต่ละวัย
ทารกต้องการพลังงาน 100kcal/kg/day
นมแม่เป็นแหล่งพลังงานที่สำคัญ เพียงพอในช่วง6เดือนแรก
ไม่เกิดโรคภูมิแพ้
นมปกติทารกคลอดครบ1ออนซ์ 20 Cal
นมของเด็กคลอดก่อนกำหนด1ออนซ์ 24Cal
สูตรHoliday and segar
10 kgแรก = 100kcal/kg/day
10 kg ต่อมา = 50kcal/kg/day
น้ำหนักที่เหลือ = 20 kcal/kg/day
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก
การดูแลให้ทารกได้รับนมแต่ละวัน
หลักการให้นมคือทารกดูดเกลี้ยงเต้าดูดทีละข้างมื้อต่อไปให้สลับข้าง
นมผงดัดดัดแปลง
นมเปรี้ยวไม่เหมาะกับเด็ก จะทำให้ติดหวาน ฟันผุ อาจมีโภชนาการเกิน
นมวัว ไม่เหมาะกับทารกต่ำกว่า1ปี ทำให้ท้องอืดท้องเสีย สารอาหารไม่ครบถ้วน
อาหารเสริมในทารก
6เดือนแรก ให้นมแม่อย่างเดียว
อายุ6เดือน อาหาร1มื้อ ต้องบดละเอียด ไข่แดงครึ่งฟอง ตับบด ผักสุก
อายุ 7 เดือน อาหาร1มื้อ ข้าวบดละเอียด ไข่แดงครึ่งฟอง ปลาหรือหมู ผักสุก
อายุ8-9 อาหาร 2 มื้อ เน้นข้าวบดหยาบ ไข่1ฟอง
อายุ10-12เดือน อาหาร 3 มื้อ ข้าวต้มหรือข้าวนิ่ม ไข่ 1 ฟอง
แต่ละชนิดควรให้ห่างกัน4-7 วัน จะได้รู้ว่าแพ้ชนิดไหน เรียนรู้การทานอาหารเสริมจากช้อน
ปฏิกิริยาเอาลิ้นดุนอาหาร ( Extrusion reflex )จะหายไปเมื่อทารถอายุ4-6เดือนขึ้นไป
ปัญหาโภชนาการในเด็กและการดูแล
โรคตาบอดแสงจากวิตามินเอ
อาหาร
พืชผักสีเหลือง ไข่แดง น้ำมันตับปลา แครอท มะละกอสุก
พบบ่อยเด็ก1-5ปี มองไม่เห็นตอนกลางคืน เพราะเรตินา ขาดvit A
Marasmus
ขาดสารอาหาร
อาการ ผอมแห้ง กล้ามเนื้อลีบ ไขมันใต้ผิวหนังน้อย
ต้องได้รับพลังงานขั้นต่ำ 120-150 kcal/kg/day
โรคปากนกกระจอกจากขาดวิตามินบีสอง
อาการ
มีรอยแผลแตกมุมปาก ลิ้นบวมแดง ระคายเคืองตา
น้ำตาไหล ไม่สู้แสง มองไม่ค่อยชัด
การป้องกัน
รับประทานอาหารครบ5หมู่
เน้นผักใบเขียว ถั่ว นม เนื้อสัตว์
เน้นดูแลความสะอาดช่องปาก
Kwashioorkor
ขาดโปรตีน
อาการบวม กดบุ๋ม ผิวหนังเหมือนหนังคางคก
มีไขมันใต้ผิวหนัง
ติดเชื้อได้ง่าย
โรคโลหิตจางจากการขาดเหล็ก
ธาตุเหล็กไม่เพียงพอ พยาธิปากขอ
อาการจะซีด ร่างกายมีออกซิเจนน้อย
การเรียนรู้จะช้า ความสนใจ ความตั้งใจ น้อย
อาหาร
ใบกะเพรา เนื้อสัตว์ ตับ ไข่แดง วิตามันซี
โรคเหน็บชาจากการขาดวิตามินบีหนึ่ง
สาเหตุ รับประทานอาาชหารทำลายวิตามินบี 1 เช่นปลาร้า
อาการ
ร้องกวน หอบเหนื่อย หัวใจเต้นเร็ว
อาจจะเสียชีวิคได้ภายใน2-3ขม.
หนังตาตก ชัก
อาหารที่มี B1 เนื้อหมู ถั่วเหลือง
การส่งเสริมพัฒนาการ
พัฒนาการด้านการช่วยหลือตนเองสังคม
7-9 เดือน กลัวคนแปลกหน้า
10-12 เดือน ดื่มน้ำจากแก้ว
16-18 เดือนใช้ช้อนตักอาหาร
19-24 เดือน แปรงฟันโดยมีคนช่วย ใส่กางเกงยางยืดได้
พัฒนาการด้านสติปัญญาและจริยธรรม
โคลเบอร์กกำหนดขั้นพัฒนาการ
ระดับที่1
ยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง
เด็กจะทำดีเพราะต้องการของรางวัลจากพ่อแม่
เก็บความต้องการ ไม่ควรนำของเล่นมาล่อ
ระดับที่3
ในวัยผู้ใหญ่
ปฏิบัติตามค่านิยมที่ยึดถือ อุดมการณ์ ความเชื่อ
แต่ละคนแสดงออกไม่เหมือนกัน
ระดับที่2
ตามที่สังคมยอมรับ
ระดับประถม-มัธยม ยอมรับพฤติกรรมศีลธรรมที่เกิดขึ้นในสังคม
พัฒนาการเคลื่อนไหว
กล้ามเนื้อมัดใหญ่
1เดือน ชันคอได้ ศีรษะตกไปด้านหลัง
2เดือน นอนคว่ำยกศีรษะได้ 45องศา
3-4เดือน Chest up
5-6 เดือน พลิกคว่ำหงาย มือยันได้ชั่วครู่
10-12 เดือน ตั้งไข่ เกาะเดิน
13-15 เดือน เดินได้ ปาของ โยนบอล
16-18 เดือน ปีนป่าย
กล้ามเนื้อมัดเล็ก
3-4 เดือน คว้าวัตถุอยู่ใกล้ได้
5-6 เดือน ใช้หัวแม่มือร่วมนิ้วอื่น จับขวดนมได้
7-9 เดือน ชอบนิ้วแหย่ตามช่อง
13-15 เดือน ต่อบล็อกไม้2ชั้น
16-18 เดือน ต่อบล็อก3ชั้น หมุนลูกบิด
2-3 ปี จับดินสอ ร้อยลูกปัดขนาดใหญ่
3-4 ปี ใช้กรรไกรตัดกระดาษ
พัฒนาการด้านภาษา
อายุ 1.6 ปี
ทำตามสั่งยากขึ้นได้
บอกความต้องการง่ายๆ
10-12เดือน
เข้าใจคำพูดที่ได้ยินบ่อย
พูดคำมีความหมาย
9เดือน
ทำตามสั่งง่ายๆ
เริ่มพูดตาม
5-6 เดือน
แยกทิศทางของเสียงได้
หัดเปล่งเสียง
2-3เดือน
เคลื่อนไหวเมื่อมีคนพูด
ทำเสียงอ้อแอ้
1เดือน
เสียงดังจะสะดุ้ง ขยับตัว
ส่งเสียงร้องเมื่อหิว ไม่สบาย
อายุ2-2.6ปี
เข้าใจประโยคคำถามและคำสั่ง
พูดตอบได้แต่เรียงคำผิด
การคัดกรองและพิจารณาส่งต่อเด๊กที่มีปัญหา
แก้ปัญหาพฤติกรรมผิดปกติตามวัย
พฤติกรรมอิจฉาน้อง
คลอดน้องให้พี่เข้าเรียนก่อน4-5เดือน
มีส่วนช่วยเลือกของให้น้อง
กระตุ้นให่้ดูแลน้อง
พี่จะมีพฤติกรรมถดถอย
ดูดนิ้ว ถ่ายรดที่นอน
เห็นแก่ตัวรู้สึกด้อย
การดูดนิ้วหัวแม่มือ
พบระยะOral stage
2-3ยังดูดนิ้วอาจมีปัญหา
ระยะยาวผลเสียผิดรูปของฟัน
ไม่ควรเกิน 5 ขวบ
ห้ามตำหนิ ค่อยๆดึงออก
เบี่ยงเบนความสนใจ
แบบคัดกรองพัฒนาการเด็ก
การแปลผล
6 9 12 เดือนได้3คะแนน สงสัย ล่าช้า
18 เดือน 4คะแนน สงสัย ล่าช้า
2 4 ปี ได้2คะแนน สงสัยภาวะปัญญาอ่อน
3 5 6 ปี ได้3คะแนน สงสัย ภาวะปัญญาอ่อน
จำแนกได้ 6 9 12 18 เดือน และ 2 3 4 5 6 ปี
สร้างขึ้นในปี 2540
ทฤษฎีพัฒนาการเด็ก
ฟรอยด์กับพัฒนาการทางเพศในด้านจิตใจ
Genital stage
12-14 ปี เข้าสู่วัยรุ่น สนใจเพศตรงข้าม
Latency stage
6-12ปี ไม่สนใจเพศตรงข้าม
Phalic stage
3-6ปี ตระหนักถึงความแตกต่าง หญิงชาย
เกิดปมอีดีปุส ( oedipus complex ) เด็กชายติดแม่ เด็กหญิงติดพ่อ
ถ้าปรับบุคลิกภาพไม่ได้จะเบี่ยงเบนทางเพศ
Anal stage
1-3ขวบ ศูนย์กลางที่ทวารหนัก 18เดือนควรฝึกขับถ่าย
ถูกบังคับมากไป จะเจ้าระเบียบ รักสะอาดเกินไป
ละเลยไป จะไม่รู้จักระเบียบ สกปรก
Oral stage
แรกเกิด-1ปี กิจกรรม ดูดกัด เคี้ยว ส่งเสียง
ไม่ได้รับการตอบสนอง จึงยึดติด ชอบทานจุบจิบ นินทา
มากไป จะมองในแง่ดี พึ่งพาคนอื่นเกินไป
ทฤษฎีพัฒนาการจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์
อิด idติดตัวมาตั้งแต่เกิด อยู่ใต้จิตสำนึก
อีโก้ ego มีจิตสำนึกมากขึ้น ถูกสร้างช่วงขวบแรก
ซุเปอร์อีโก้ superego รู้สึกผิดชอบชั่วดี
สร้างในวัยเด็กตอนต้น
นางสาว สโรชา ยาวิใจ เลขที่35 รุ่น36/2
อ้างอิง
กระทรวงสาธารณสุข ฺ (2558). คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ฺ นนทบุรี: สยามพิมพ์นานา ฺ