Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้และรูปแบบการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ …
ทฤษฎีการเรียนรู้และรูปแบบการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์
คิดสร้างสรรค์และการคิดแก้ปัญหา
การเรียนรู้ตามทฤษฎีของบรูเนอร์ (Bruner)
ผู้เรียนอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เป็นจริง
ผู้เรียนเลือกเนื้อหาและกิจกรรมเอง
ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความหมายขึ้นมาจากแง่มุมต่างๆ
ผู้เรียนเลือกเนื้อหาและกิจกรรมเอง
ผู้เรียนมีบทบาทรับผิดชอบในการเรียน
เนื้อหาควรถูกสร้างในภาพรวม
ความรู้ถูกสร้างหรือหล่อหลอมโดยประสบการณ์
.การเรียนรู้ตามทฤษฎีของ Bloom (Bloom's Taxonomy)
การประยุกต์ (Application)
การวิเคราะห์ (Analysis)
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์
การวิเคราะห์หลักการจัดระเบียบ
การวิเคราะห์หน่วยย่อย
ความเข้าใจ (Comprehend)
การตีความ
การสรุปอ้างอิง
การแปล
การสังเคราะห์ (Synthesis)
ผลิตผลจากการสื่อความหมายเฉพาะ
ผลิตผลแผนงานหรือชุดเสนอเพื่อปฏิบัติการ
การได้มาซึ่งชุดของความสัมพันธ์เชิงนามธรรม
ความรู้ที่เกิดจากความจํา (knowledge)
ความรู้เรื่องวิธีทางและวิธีการจัดการทํากับสิ่งเฉพาะ
ความรู้เฉพาะสิ่ง
ความรู้เรื่องสากลและเรื่องนามธรรมในสาขาต่างๆ
การประเมินค่า (Evaluation)
การตัดสินตามเกณฑ์ภายใน
การตัดสินตามเกณฑ์ภายนอก
ทฤษฎีการเรียนรู้ 8 ขั้น ของกาเย่ (Gagne)
การปรุงแต่งสิ่งที่รับรู้ไว้เป็นความจํา (Acquisition Phase)
ความสามารถในการจํา (Retention Phase)
การรับรู้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ (Apprehending Phase)
ความสามารถในการระลึกถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว (Recall Phase )
การจูงใจ (Motivation Phase)
การนําไปประยุกต์ใช้กับสิ่งที่เรียนรู้ไปแล้ว (Generalization Phase)
การแสดงออกพฤติกรรมที่เรียนรู้ ( Performance Phase)
การแสดงผลการเรียนรู้กลับไปยังผู้เรียน ( Feedback Phase)
การเรียนรู้ตามทฤษฎีของไทเลอร์ (Tylor)
การจัดช่วงลําดับ (sequence)
การจัดกิจกรรมและประสบการณ์ ให้มีการเรียงลําดับก่อนหลัง
บูรณาการ (integration)
การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้เพิ่มพูนความคิดเห็นและได้แสดงพฤติกรรมที่สอดคล้องกับเนื้อหาที่เรียนเป็นการเพิ่มความสามารถ
ความต่อเนื่อง (continuity)
เปิดโอกาสให้มีการฝึกทักษะในกิจกรรมและประสบการณ์บ่อยๆ และต่อเนื่องกัน
ความหมายทฤษฎีการเรียนรู้
ข้อความรู้ที่พรรณนา/อธิบาย/ทํานาย ปรากฏการณ์ต่างๆ เกี่ยวกับการเรียนรู้ซึ่งได้รับการพิสูจน์ทดสอบตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ว่าเชื่อถือได้และสามารถนําไปนิรนัยเป็นหลักหรือกฎการเรียนรู้ย่อยๆ
การเรียนรู้ตามทฤษฎีของเมเยอร์ (Mayor)
เงื่อนไข
พฤติกรรมสําเร็จได้ควรมีเงื่อนไขในการช่วยเหลือ
มาตรฐาน
พฤติกรรมที่ได้นั้นสามารถอยู่ในเกณฑ์ที่กําหนด
พฤติกรรม
ควรชี้ชัดและสังเกตได้
รูปแบบการคิดแก้ปัญหาอนาคตของทอแรนซ์(Torrance’s Future Problem Solving Model)
ความคิดริเริ่ม
ลักษณะของความคิดแปลกใหม่
ความยึดหยุ่นในการคิด
ความสามารถของบุคคลในการคิดหาคําตอบได้หลายประเภท
ความคล่องแคล่วในการคิด
ความสามารถของบุคคลในการคิดหาคําตอบได้อย่างคล่องแคล่วรวดเร็ว
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์(Piaget)
พัฒนาการทางสติปัญญาว่าเป็นผลเนื่องมาจากการปะทะสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อม โดยบุคคลพยายามปรับความรู้ ความคิดเดิมกับสิ่งแวดล้อมใหม่ สามารถปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้
กระบวนการดูดซึม
กระบวนการปรับให้เหมาะ
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์(Thorndike’s Connected Theory)
การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง
ทฤษฏี หลักการ และแนวคิดเกี่ยวกับ “การคิด” จากต่างประเทศ
รูปแบบโครงสร้างของกิลฟอร์ด (Guilford)
มิติด้านเนื้อหา (Contents)
วัตถุ/ข้อมูลที่ใช้เป็นสื่อก่อให้เกิดความคิด
มิติด้านผลผลิต (Products)
ผลของการคิด
มิติด้านปฏิบัติการ (Operations)
กระบวนการต่าง ๆ ที่บุคคลใช้ในการคิด