Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดและหลักการเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา…
แนวคิดและหลักการเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
บทนำ
การประกันคุณภาพการศึกษาทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาถูกพัฒนาขึ้นเพื่อให้เกิดความมั่นใจแก่ทุกฝ่ายว่าการจัดการศึกษาทุกระดับตั้งแต่ปฐมวัยจนถึงระดับอุดมศึกษามีคุณภาพและมาตรฐานที่สังคมยอมรับ
แนวทางการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา เป็นระบบที่สถานศึกษา “สร้างความมั่นใจ” แก่ผู้รับบริการทั้งผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน
การกระจายอำนาจ
การเปิดโอกาสการมีส่วนร่วมในการทำงาน
การแสดงภาระรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพภายใน
หลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ยึดหลักการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ดังต่อไปนี้
กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
ดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา
จัดทำรายงานประจำปีเป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน
จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
แผน เป็นเอกสารที่แสดงโครงการ/กิจกรรม วิธีการที่ได้ผ่านการคิดมาแล้วล่วงหน้า
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ
การจัดระบบบริหารสถานศึกษา
สถานศึกษาสามารถจัดระบบบริหารโดยอาศัยแนวคิด ทฤษฎี หรือผลงานวิจัยที่มีความเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาโดยเน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ใช้เทคนิคการบริหารและการจัดการให้สามารถดำเนินงานบรรลุเป้าหมาย
การจัดระบบสารสนเทศ
สถานศึกษาควรมีการจัดระบบสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่ ครอบคลุมและเพียงพอต่อการน าไปใช้ในการวางแผนการจัดการศึกษา สืบค้นได้ง่ายและรวดเร็ว ผู้รับผิดชอบดูแลสารสนเทศของสถานศึกษาต้องทำงานอย่างมีระบบ
การดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษานั้นเปรียบเสมือนเข็มทิศชี้ทางทำงาน เพื่อให้ทุกคนทุกฝ่ายมีเป้าหมายและแนวทางการดำเนินงานที่ไม่ขัดแย้งกัน
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาเป็นกระบวนการติดตามตรวจสอบ “ความก้าวหน้า” ของการปฏิบัติงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
การประเมินคุณภาพภายในเป็นระบบกระบวนการประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่กระทำโดยบุคลากรภายในหรือผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง
คุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้
คุณภาพการศึกษาด้านการบริหารจัดการของสถานศึกษา
การทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน
จากการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา สถานศึกษาสามารถสรุปและจัดทำรายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาและถือว่าเป็นรายงานประจำปีของสถานศึกษาได้
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง หมายถึง ความยั่งยืนของการดำเนินโครงการ/กิจกรรมตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มีการปรับเปลี่ยนในทางที่ดีขึ้นอย่างสม่ำเสมอ