Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดเทคนิคการวิเคาระห์ข้อมูลเชิงปริมาณในการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้…
แนวคิดเทคนิคการวิเคาระห์ข้อมูลเชิงปริมาณในการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
การวิเคราะห์ข้อมูล
สถิติเชิงอนุมาน (inferential statistics)
สถิติที่ใช้สรุปอ้างอิงจากตัวอย่างไปประชากร
สถิติเชิงบรรยาย (descriptive statisticsสถิติที่ใช้บรรยายข้อมูล ใช้ตรวจสอบค่ากลาง การกระจาย และคุณภาพของข้อมูลวิจัย สถิติเชิงบรรยายอธิบายข้อมูลพื้นฐานของการวิเคราะห์เชิงอนุมาน
ค่าเฉลี่ย (mean)
มัฐยฐาน (median)
ฐานนิยม (mode)
ค่าของข้อมูลที่มีความถี่มากที่สุด
ค่าที่อยู่ตรงกลางของข้อมูลที่เรียงจากน้อยไปมาก หรือมากไปน้อย
ข้อพิจารณาเลือกใช้สถิติ
ประเภทของตัวแปร
พิจารณาจากความเป็นเหตุเป็นผลต่อกัน
–ตัวแปรอิสระ และตัวแปรตาม
–ตัวแปรแทรกซ้อน
–ตัวแปรคั่นกลาง/ตัวแปรส่งผ่าน
–ตัวแปรปรับ/กำกับ
ระดับการวัดตัวแปร
มาตราอันดับ
มีความละเอียดในการวัดเพิ่มมากขึ้น
มาตราช่วง/อันตรภาค
เกลการวัดที่กำหนดค่าของตัวแปรเป็นตัวเลขในลักษณะต่อเนื่องแต่มีจุดศูนย์ไม่แท้ บอกความแตกต่างระหว่างช่วงของตัวแปรได้แต่ละหน่วยการ
วัดจะมีระยะห่างเท่า ๆ กัน
มาตรานามบัญญัต
เพื่อจำแนกประเภท
มาตราอัตราส่วน
สเกลการวัดที่กำหนดค่าของตัวแปรเป็นตัวเลขลักษณะต่อเนื่องแต่แตกต่างจากระดับการวัด Interval Scale ที่มีจุดศูนย์แท้จริง (Absolute Zero) คือ ค่าศูนย์มีความหมายชัดเจนว่าไม่มีค่าความแตกต่างระหว่างช่วงของตัวแปรมีขนาดเท่ากัน
เป้าหมายของการวิจัย
ค้นหาคำตอบ ที่เป็นความจริง (Truth) ต้องการผลิตความรู้ใหม่ ที่ถูกต้อง และเชื่อถือได้ โดยหวังว่า ความรู้ใหม่นั้น จะสะท้อนถึง ความจริงในธรรมชาติสามารถทำนายการเปลี่ยนแปลง ของธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในตัวของมันเอง และในบางครั้ง ในบางขั้นตอน ของการวิจัย ก็มีการเปลี่ยนแปลง หรือควบคุม ธรรมชาติบางอย่าง เช่น มีการแบ่งกลุ่มตัวอย่าง ที่นำมาศึกษา แล้วกำหนดให้ ตัวอย่างแต่ละกลุ่ม ได้รับปัจจัยเสี่ยง ที่ต่างกัน การกระทำดังกล่าว จะช่วยให้เข้าใจธรรมชาติ ได้ดียิ่งขึ้น
ความคลาดเคลื่อนในการใช้สถิติ
ความคลาดเคลื่อนในการใช้สถิติ เกิดขึ้นได้ทุกขั้นตอนในการดำเนินการทางสถิติ หากขาดความระมัดระวัง เริ่มตั้งแต่การเก็บรวบรวมข้อมูล อาจได้ข้อมูลที่ไม่ตรงกับความจริง รายละเอียดในการเก็บข้อมูลหรือบันทึกข้อมูลผิดพลาด โดยใช้การนำเสนอด้วยรูปร่างและขนาดที่ไม้ตรงกับข้อเท็จจริง การนำเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ที่ใช้สถิติไม้เหมาะสมกับข้อมูล เช่น ใช้มัธยฐานแทนค่าเฉลี่ย การแปลความหมายของข้อมูล อาจมีการอ่านข้อมูลที่นำเสนอข้อมูลเกินจริง ตีความเกินจริง ดังนั้น ในการพิจารณาข้อมูลในทางสถิติควรตรวจสอบในเชิงลึก ให้แน่ชัดก่อนช่วยให้มีความมั่นใจในข้อมูล สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจทางธุรกิจต่างๆ หรือในการทดลองทางคณิตศาสตร์ได้