Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิวิทยาการคัดกรองการรักษาและความผิดปกติทางปริกำเนิด (ข้อบ่งชี้ในการตรวจ…
พยาธิวิทยาการคัดกรองการรักษาและความผิดปกติทางปริกำเนิด
ภาวะความผิดปกติแต่กำเนิด
ปัจจัยเสี่ยง
มารดาที่มีโรคประจำตัวทั้งก่อนและในระหว่างการตั้งครรภ์
ภาวะเบาหวานรวมถึงภาวะแทรกซ้อนอื่นที่เกิดขึ้นระหว่างการตั้งครรภ์
มารดาที่มีประวัติการใช้ยาบางชนิดระหว่างการตั้งครรภ์
ยากันชัก
นอกจากนี้หากมีบิดา มารดา หรือคนในครอบครัวมีความพิการแต่กำเนิดก็จะเพิ่มความเสี่ยงต่อทารกได้
มารดาอายุมากกว่า 35 ปี
ปัจจัยร่วมกันหรือไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด
ปากแหว่งเพดานโหว่
สาเหตุ
ปัจจัยทางสิ้งแวดล้อม
โรคอ้วนในระหว่างตั้งครรภ์
การขาดกระโฟลิคในระหว่างตั้งครรภ์
การสัมผัสไวรัสหรือสารเคมีระหว่างตั้งครรภ์
ปัจจัยทางพันธุกรรม
การใช้ยาบางชนิดระหว่างตั้งครรภ์
ยากันชัก
สเตอรอยด์
ยารักษาสิว
การวินิจฉัย
การอัลตราซาวด์
การตรวจร่างกายทารกแรกเกิด
การรักษา
การผ่าตัด
ลักษณะ
รอยแหว่งเล็กๆที่เกิดขึ้นเฉพาะบริเวณริมฝีปากบน
รอยโหว่เฉพาะที่เพดานอ่อนในปาก
ภาวะแทรกซ้อน
ปัญหาในการรับประทานอาหาร
ปัญหาทางการพูด
การติดเชื้อที่หูและปัญหาการได้ยิน
ปัญหาทางทันตกรรม
การป้องกัน
รับประทานวิตามินที่เป็นประโยชน์ต่อการตั้งครรภ์
งดการดื่มแอลกอฮอล์
งดการสูบบุหรี่และหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานการณ์ที่มีควันบุหรี่
สาเหตุ
ความผิดปกติที่เกิดจากการติดเชื้อ
มารดาที่ติดเชื้อในระหว่างการตั้งครรภ์
ทารกเป็นหัดเยอรมันอาจทำให้เกิดโรคภาวะหัวใจพิการแต่กำเนิด
ความผิดปกติที่เกิดจากการได้รับยา สารบางชนิดหรือเกิดจากการขาดสารอาหารบางชนิด
ภาวการณ์ขาดกรดโฟลิก
ภาวะความผิดปกติของการปิดของท่อระบบประสาท
ความผิดปกติของโครโมโซม
ดาวน์ซินโดรม (Down Syndrome)
ลักษณะของทารก
ดั้งจมูกแบน
ปากเล็ก
ใบหน้าค่อนข้างกลม
ลิ้นยื่นออกมา
ตาเฉียงขึ้น
ตัวค่อนข้างเตี้ย
ศีรษะค่อนข้างเล็ก แบน
มือสั่น
โรคร่วม
ภาวะหัวใจพิการแต่กำเนิด
โรคลำไส้อุดตัน
ต่อมไทรอยด์ทำงานผิดปกติ
กระบวนการให้คำปรึกษาแนะนำเพื่อการเตรียมตัวก่อนตั้งครรภ์
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติ
การตรวจเลือด
การตรวจโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
การตรวจปัสสาวะ
การ X-ray
การตรวจคัดกรองโรคทางพันธุกรรม (บางชนิด)
การซักประวัติ
การพิจารณาตรวจประเมินเฉพาะของโรคประจำตัว
ข้อบ่งชี้ในการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด
เคยคลอดบุตรมีโครโมโซมผิดปกติ
เคยคลอดบุตรมีความผิดปกติทางพันธุกรรม
สตรีที่ทารกมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคทางพันธุกรรม
สตรีตั้งครรภ์ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป
มีประวัติเคยคลอดบุตรที่พิการแต่กำเนิด
การตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด
การตรวจคัดกรองหาความผิดปกติทางโครงสร้างของทารกในครรภ์เบื้องต้น
การตรวจอัลตร้าซาวด์
การตรวจเพื่อวินิจฉัยความผิดปกติทางพันธุกรรมของทารก
การเจาะเลือดจากสายสะดือ (Coedocentasis)
การเจาะน้ำคร่ำ (Amniocentasis)
ตรวจจากเซลล์ผิวหนังของทารกที่หลุดลอกลอยอยู่ในน้ำคร่ำ
น้ำคร่ำส่วนใหญ่สร้างปัสสาวะของทารก ถ้าทารกปกติและไม่มีภาวะแทรกซ้อนหลังจากเจาะน้ำคร่ำบางส่วนไปแล้ว
ภาวะแทรกซ้อน
ถุงน้ำคร่ำรั่ว
เกิดการแท้ง
การติดเชื้อ
อายุครรภ์ที่เหมาะสม คือ 16-20 weeks
ทารกสามารถสร้างปัสสาวะทดแทนและกลับสู่ภาวะปกติได้
link to coggle-downloads-production.s3.eu-west-1.amazonaws.com