Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บาดแผลไหม้ (Burns) (ปัญหาและการพยาบาลผู้ป่วยแผลไหม้ (ระยะวิกฤต (Acute…
บาดแผลไหม้ (Burns)
ปัญหาและการพยาบาลผู้ป่วยแผลไหม้
ระยะฉุกเฉิน (Resuscitative phase or Emergent phase) ระยะ 24-72 ชั่วโมงแรก
ปัญหาทางการพยาบาล
การหายใจบกพร่อง
การพยาบาล
เตรียมอุปกรณ์และช่วยแพทย์ ในการใส่ท่อหายใจ ก่อนที่จะมีการอุดตันจากการ บวมของทางเดิน
หายใจ การเจาะคอ ในระยะนี้ควร หลีกเลี่ยงเนื่องจากมีการบวมของคอ จึงทำได้ยาก และเสี่ยงต่อการเกิดอันตราย
ให้ออกซิเจน ช่วยหายใจ ถ้ามีพิษ จากคาร์บอนมอนนอกไซด์ ให้ออกซิเจนที่มีความ เข้มข้น 100%
ทันที ถ้ายังไม่รู้สึกตัวภายใน 1 ชั่วโมง แพทย์อาจพิจารณาวิธี hyperbaric oxygen therapy
ในกรณีที่ผู้ปุวยหายใจลำบากจาก circumferential full thickness burn ที่อก ต้องเตรียมผู้ป่วย
ทำ escharotomy ทันที
ความเจ็บปวดทางร่างกายและทาง จิตใจ
มีการสูญเสียสารน้้าจ้านวนมากจน อาจเกิดภาวะ hypovolemic shock ได้
การพยาบาล
3 ตวงและบันทึกจำนวนปัสสาวะ ทุกชั่วโมง สังเกตลักษณะสี รวมทั้งหาค่าความถ่วงจำเพาะ
5 ป้องกันปัจจัยเสริมที่ทำให้ร่างกายสูญ เสียสารน้้ามากขึ้น โดยควบคุมอุณหภูมิห้อง และความชื้นของ
สิ่งแวดล้อม และขณะเปิดแผลไม่ควร expose แผลต่อสิ่งแวดล้อมนานๆ
2 ตรวจสอบสัญญาณชีพ ทุก 15 – 30 นาที ในชั่วโมงแรกๆ และต่อไปทุก 1 ชั่วโมง หรือตามสภาพ
ผู้ปุวย พร้อมทั้งประเมินระดับ ความรู้สึกตัวและประเมินการไหลเวียนของเลือด สู่ส่วนปลาย
4 เจาะเลือดส่งตรวจ ABG, CBC, electrolyte, BUN, Cr, Total protein, Albumin, PT, PTT
เป็นระยะๆและติดตามผล การตรวจ Arterial Blood Gas เพื่อดูความเป็นกรดด่างของ ร่างกายและประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนก๊าซ
1 ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้้าทดแทน ตามแผนการรักษา ชนิดของสารน้้าที่นิยมให้ในระยะแรกของ
burn shock period คือ Crystalloid solution เพียงอย่างเดียวใน 24 ชั่วโมงแรก
ชั่งน้้าหนักวันละครั้ง
การพยาบาล
ประเมินสภาพเบื้องต้นตามหลัก ABC (Airway, Breathing, Circulation)
2.หยุดกระบวนการเผาไหม้ที่ยังหลงเหลืออยู่ ถอดเสื้อผ้าออกและสำรวจอย่างละเอียด
ซักประวัติจากผู้ป่วยและญาติ
3.1ชั่งน้้าหนักผู้ปุวยทันที เพื่อเป็นน้้าหนัก มาตรฐานของผู้ป่วยในการให้สารน้้า
3.2 เปิดเส้นเลือดเพื่อให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษาของแพทย์
3.3 ใส่สายสวนปัสสาวะด้วยวิธี ปลอดเชื้อ เพื่อประเมินจ้านวนปัสสาวะและสังเกต อาการ
ปัสสาวะเป็นเลือด
3.4ใส่สาย Nasogastric tubeเพื่อประเมินดูการทำงานของกระเพาะอาหาร และเตรียม
สำหรับ early enteral feeding ในกรณีที่ ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้
ระยะวิกฤต (Acute phase)
ปัญหาความเจ็บปวด การบรรเทา ความเจ็บปวด
โดยการดูแลให้ได้รับยาลดปวด ตามแผนการรักษา เช่นmorphine ยังช่วยลดความกลัว ท้าให้ผู้ปุวยสบายและสงบขึ้น หลีกเลี่ยง
การให้ยา เข้ากล้ามเนื้อหรือใต้ผิวหนังเพราะยาดูดซึมไม่ดี เนื่องจากการบวม
การติดเชื้อของแผล การดูแลบาดแผล
ทำความสะอาดด้วย Normal Saline Solution
การจัดท่านอนเพื่อลดอาการบวม ของแผลจะ
ช่วยส่งเสริมการหายของแผลได้
ห้ามผู้ป่วยนอนหนุนหมอนเพราะ จะท้าให้เกิดแผลดึงรั้งบริเวณคอ และเกิดความ พิการได้
การประคับประคองด้านจิตใจ เพื่อ ลดความวิตกกังวลของผู้ปุวยและญาติ
ให้ก้าลังใจและอธิบาย
ให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้นพร้อมแนวทางการรักษาตามความเหมาะสม
ระยะฟื้นฟู(Rehabilitative phase)
การพยาบาล
การสร้างสัมพันธภาพกับผู้ปjวยและบิดมารดาตั้งแต่แรกรับให้เกิดความไว้วางใจ
ให้ข้อมูลการดูแลรักษา การพยาบาลและระยะเวลาการหายของแผลโดยประมาณ
ให้โอกาสผู้ป่วยและบิดามารดาซักถามและตอบข้อสงสัย ประสานกับแพทย์ในการให้ข้อมูลผู้ปุวย ด้าน
แผนการรักษา
ให้ผู้ป่วยและบิดามารดามีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการ รักษาพยาบาลและการดูแลบาดแผล
พยาบาลควรพูดคุยให้ก้าลังใจ ตลอดจนดูแลให้ได้รับยาแก้ปวดก่อนท้าแผลและบริหารร่างกาย
ให้บิดามารดามีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย
จัดกิจกรรมนันทนาการให้เกิดความเพลิดเพลินแก่ผู้ป่วยตามความต้องการและพัฒนาการของผู้ป่วย
ความรุนแรงของการเกิดแผลไหม้
ประเมินโดยใช้ความลึกของแผลไหม้ (Degree of burn)
First degree burn (1 burn) มีการท้าลายเฉพาะชั้นหนังก้าพร้า ผิวหนังบริเวณนั้น จะมีสีชมพูหรือสแดง มีความนุ่ม ไม่มีตุ่มพอง มี อาการปวดแสบ แผลหายได้เองภายใน 3-5 วัน
Third degree burn (3 burn) ผิวหนังถูกทำลายทุกชั้น ทั้ง ชั้นหนังก้าพร้า หนังแท้ โดยอาจลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อ หรือกระดูก แผลไหม้จะมีลักษณะขาว ซีด เหลือง ดำ หนาแข็ง ไม่มีอาการเจ็บปวดการหายของแผล ต้องใช้เวลานานและต้องทำ skin graft ร่วมด้วย หายแล้วจะเป็นแผลเป็น
Second degree burn (2 burn)
Superficial partial thickness จะมีการท้าลายชั้นหนังก้าพร้าทั้งหมดและบางส่วนของ หนังแท้ ผิวจะมีสี
แดง มีตุ่มพอง ปวดแสบมาก
Deep partial thickness มีการท้าลาย ของชั้นหนังก้าพร้าทั้งหมด ส่วนมากของหนังแท้จะ ถูกท้าลาย แต่
ยังคงมีเหลืออยู่บ้างที่งอกขึ้นมาทดแทน กลับคืนเป็นผิวหนังได้ สีผิวจะเป็นสีขาว ซีด ตุ่มพองมีน้อยหรือแฟบความรู้สึกปวดแสบลดลง
ประเมินโดยใช้ความกว้างหรือขนาดของ แผลไหม้ (Extent of burn)
Rule of nine
ศีรษะ (หน้า, หลัง) = 18%
ขาข้างซ้าย(หน้า, หลัง)=13.5%
ขาข้างขวา(หน้า, หลัง)=13.5%
แขนขวา (หน้า, หลัง) =9%
อวัยวะสืบพันธุ์ = 1%
แขนซ้าย(หน้า, หลัง) =9%
ลำตัวด้านหน้า =18%
ลำตัวด้านหลัง =18%