Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิด 7 ประการ (การป้องกันการติดเชื่อ (ปัญหา…
การพยาบาลทารกแรกเกิด 7 ประการ
การช่วยเหลือด้านจิตใจของพ่อแม่
คลอดก่อนกำหนด
รักษาเป็นเวลานาน
สิ่งแวดล้อมรอบตัวขัดขวาง
ดูแลเป็นพิเศษ
ทารกอาจได้รับความเจ็บปวด
เครียด วิตกกังวล
ทารกได้รับการส่งเสริมพัฒนาการเหมือนอยู่ในครรภ์มารดา
ให้อาหารและน้ำอย่างเพียงพอ
การดูแล
การเพิ่มพลังงาน
ประเมินการให้อาหาร
การพยาบาล
จัดท่านอนหลังให้นม
เริ่มมี Reflex
ไม่มีปัญหาหอบเหนื่อย
ให้พร้อมดูดกลืน
น้ำ & อาหาร ไม่พอ
น้ำดีและน้ำย่อยน้อย
กระเพาะอาหารมีขนาดเล็ก
ดูดซึมอาหารไม่ดี
เลือดไปไหลเวียนเลี้ยงกระเพาะและลำไส้น้อย
หูรูดกระเพาะอาหารทำงานไม่ดี
เหนื่อยจากการดูด
พลังงานสะสมน้อย
การส่งเสริมพัฒนาการทารก
จัดท่า
การตอบสนองความเครียด
ควบคุมสิ่งเร้า
สัมผัส
Kangaroo Care
นุ่มนวล
รับรส
การดูดนมแม่
เสียง
ไม่เกิน 50 เดซิเบล
กลิ่น
นมแม่
แสงสว่าง
ลดแสงไฟ
ใช้ผ้าคลุมตู้
การลดความเครียดและความเจ็บป่วย
จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
อุณหภูมิห้อง
ความชื้น
ความผูกพันธ์ระหว่าง พ่อ แม่ ลูก
Bonding
ผูกพันทางอารมณ์ พ่อแม่มีต่อลูกฝ่ายเดียว
มักเกิดช่วงตั้งครรภ์
Attachment
รักใคร่ผูกพัน ระหว่างทารกกับพ่อแม่
ค่อยๆเกิดขึ้นอาศัยเวลา
การควบคุมอุณหภูมิร่างกายให้อยู่ระดับปกติ
การควบคุมความร้อนไม่มีประสิทธิภาพ
มีพลังงานที่สะสมมาน้อย
กล้ามเนื้อน้อยไม่สามารถสั่นได้
ไขมันใต้ผิวหนังน้อย
มีการหดรัดตัวของหลอดเลือดไม่สมบูรณ์
พื้นที่ผิวกายมาก
ท่าทางการนอนแขนขาเหยียด
Hypothalamus ทำงานไม่สมบูรณ์
กลไกการปรับอุณหภูมิร่างกาย
ปรับโดยศูนย์ควบคุมความร้อนที่สมอง
ปรับโดยการสร้างความร้อน
การหดตัวและการสั่นของกล้ามเนื้อ
ปฏิกิริยาทางเคมี
อุณหภูมิต่ำ
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงภาวะเสี่ยงที่อาจสูญเสียความร้อน
หลังคลอดรีบเช็ดตัวให้แห้ง
ห่อตัวและสวมหมวกคลุมศีรษะ
เคลื่อนย้ายโดยใช้ Transport incubator
สังเกตอาการ Hypothermia , Hyperthermia
ดูแลให้ทารกมีการใช้ออกซิเจนและเผาผลาญอาหารน้อยที่สุด
ผลกระทบ
ออกซิเจนเพิ่ม
พลังงานเพิ่ม
เมตาบอลิกเพิ่ม
อาการ
ดูดนมไม่ดี
หายใจเร็ว หายใจลำบาก
อาเจียน ท้องอืด
น้ำตาลในเลือดต่ำ เลือดเป็นกรด
ผิวหนังเย็น ซีด
เกร็ดเลือดต่ำ
น้ำหนักลด
ปัสสาวะน้อย
การควบคุม
ใช้เครื่องแผ่รังสี
ใช้ผ้าสำลีหรือผ้าห่มห่อตัวทารก สวมหมวก สวมเสื้อผ้าถุงมืและถุงเท้า
ใช้ตู็อบ
ทำ NEST
ใช้ถุงถั่วเขียว
การดูแลรักษา
ลดการกระตุ้น
หากพร่องออกซิเจนต้องรีบให้ทันที
ป้องกันการสูญเสียความร้อน
ให้สารน้ำให้เพียงพอ
เพิ่มอุณหภูมิช้าๆ
ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
การป้องกันการติดเชื่อ
แยกเครื่องมือเฉพาะรายไม่ปนกันและรักษาความสะอาด
ประเมินอาการติดเชื้อ
แยกทารกเกิดก่อนกำหนด
รักษาความสะอาด ตา ผิวหนัง สะดือ
ปัญหา
เม็ดเลือดขาวน้อย ทำหน้าที่ไม่สมบูรณ์
ผิวหนังและเยื่อบุป้องกันการติดเชื้อได้น้อย
สร้าง Igm ไม่สมบูรณ์ Igg จากมารดาน้อย
ล้างมือให้สะอาดยึดหลัก Aseptic Technique
การหายใจ
การดูแล
ได้รับออกซิเจนเพียงพอ
ระวัง BPD
ระวัง ROP
ขณะให้นม ควรจัดนอนศีรษะสูง
จัดท่านอน
สังเกตอาการหายใจลำบาก
ดูดเสมหะทางปาก
ติดตามค่าออกซิเจนในเลือด ( keep 90-95% )
หยอด NSS ให้ทางเดินหายใจโล่ง
ภาวะแทรกซ้อน
น้ำตาลในเลือดต่ำ
เลือดข้น
สำลักน้ำคร่ำ
พิการแต่กำเนิด
ขาดออกซิเจน
ลำไส้อักเสบเน่าตาย
ระบบหายใจทำงานไม่สมบูรณ์
การหายใจไม่สม่ำเสมอ
ทางเดินหายใจมีขนาดเล็กมีสิ่งอุดกั้นได้ง่าย
Medulla oblongata ทำงานไม่สมบูรณ์
อุณหภูมิกายต่ำ
สาร Surfactant มีไม่พอ
ใช้หน้าท้องช่วยหายใจ
กระดูกทรวงอกอ่อนนิ่ม