Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 14 ทักษะการสื่อสารสำหรับครู (ความเข้มแข็ง (Consteuctive…
บทที่ 14 ทักษะการสื่อสารสำหรับครู
ความเข้มแข็ง (Consteuctive Assertiveness)
1.การชี้ให้เห็นปัญหา (Stating the Problem or Concern)
1.1ชี้พฤติกรรมของผู้เรียนที่กำลังเกิดขึ้น
1.2 บอกผลกระทบของพฤติกรรมดังกล่าว
การเดินรอบๆห้อง รบกวนคนอื่นๆ
2.ภาษาท่าทาง (Body Language)
2.2 การเข้าใกล้ผู้เรียนแต่ไม่เข้าใกล้จนเกินไปจนผู้เรียนกลัว
หันหน้าไปทางผู้เรียน ยืนตัวตรงให้ผู็เรียนเห็นว่าผู้สอนเอาจริง
2.1 ดูตาผู้เรียน
ไม่ควรจ้องนานเกินไป ควรจ้องเป็นระยะๆ
2.3 ต้องแสดงสีหน้าน้ำเสียที่เหมาะสม
ไม่ควรยิ้มเมื่อผู้ตักเตือน
3.การให้ได้มาซึ่งพฤติกรรมที่เหมาะสม (Obtaining Appropriate Behavior)
3.1 ครูต้องยืนกรานให้ผู้เรียนมีพฤติกรรมที่เหมาะสมตามที่ต้องการผู้เรียนอาจบ่ายเบี่ยงในลักษณะต่างๆ
ปฏิเสธที่จะทำ
แก้ตัว
โทษคนอื่น
3.2 ถ้าผู้เรียนโต้แย้งหรือปฏิเสธ๕วามรับผิดชอบในพฤติกรรมที่เกิดขึ้น
ครูต้องไม่หลงประเด็น
ไม่ปล่อยให้ยืดเยื้อ
3.3 การแสดงความจริงจัง เข้มแข็งของครูเพื่อช่วยให้ผู้เรียนตระหนักในสถานการณ์ของตนเอง
ครูต้องให้ผู้เรียนทราบความกังวลเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความตั้งใจ
การดำเนินการเกี่ยวกับพฤติกรรมนั้นให้ถูกต้อง
การแก้ปัญหา ( Problem Solving )
ขั้นตอน1 ในการพูดคุยระหว่าง ครู - ผู้เรียน เพื่อแก้ปัญหา
ขั้นที่1 ชี้ปัญหา
ขั้นที่1 ของการผู้คุย
ผู้เรียนอาจจะมีปฏิกิริยาต่อต้าน
แสดงอารมณ์
โต้แย้ง
โทษเหตุการณ์
ขั้้นที่2 การเลือกแนวทางการแก้ปัญหา
ครูเสนอวิธี
ครูบอกแนวทาง 2-3 แนวทาง
เพื่อให้เหมมาะกับเขา
ขั้นที่3 การตกลงในข้อผูกมัด
ครูให้ผู้เรียนยอมรับแนวทางการแก้ปัญหา
ปฏิบัติในระยะเวลาที่กำหนด
กิจกรรมเสนอแนะ
กิจกรรมที่1 การพัฒนาทักษะความเข้มแข็ง
ขั้นที่1 ให้เขียนปัญหาให้ชัดเจนเปรียบเทียบกับคนอื่น
ปรับปรุงเพิ่มเติมได้ถ้าจำเป็ฯ
ขั้นที่2 ใช้บทบาทสมมุติตามสถานการณ์
ดูตา
แสดงสีหน้า
ขั้นที่3 ให้รับการให้ข้อมูลย้อนกลับ
กิจกรรมที่2 Producing Empathic Responses
ผู้แสดงเป็นครูให้ฝึกทักษะการเห็ฯอกเห็นใจ
กิจกรรมที่3 การฝึกการแก้ปัญหา
ผู้เรียนจะเป็นผู้เผชิญปัญหา รับรู้ปัญหา
กิจกรรมที่4 การวิเคาระห์บทสนทนา
อภิปรายเรื่องสั้น 3 เรื่องท้ายบท
ครูใช้การแก้ปัญกา
ความเข้มแข็ง
การแสดงการเห็ฯอกเห็นใจ
ความเห็นอกเห็นใจ (Empathic Responding)
ครูเผชิญกับพฤติกรรมที่เป็นปัญหาหรือรับผิดชอบในพฤติกรรมที่เกิดขึ้น
1.ครูหลีกเลี่ยงการโต้แย้งกับผู้เรียนและยอมรับปัญหาของผู้เรียน
ครูควรเป็นผู้ฟัง
ผู้ช่วยเหลือ
การฟังอย่างเห็นอกเห็นใจ จัดการกับผู้เรีนที่มีอารมณ์รุ่นแรงโดยไม่ต้อแก้ปัญหาของผู้เรียนด้วยตัวเอง
2.1 ทักษะการฟัง
การยอมรับการแสดงออกทางอารมณ์
ช่วยให้การสนทนาดำเนินต่อไปได้
อย่างนั้นหรือ
เล่าต่อไปสิ
น่าสนใจ
อ่อ
การต้องการความมั่นใจโดยครูอาจสัมผัส
ตบที่ไหล่เบาๆ
กอดเบาๆ
2.2 ทักษะกระบวนการ
อาศัยความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูล
ข้อความที่ครูได้รับจากผู้เรียน
พิจารณาสถานการณ์
นำไปสู่การอภิปราย
นางสาวสุนิษา รัสสะวรรณโณ รหัสนักศึกษา 6120160451