Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตั้งครรภ์เสี่ยง (Risk of pregnncy) (การแปลภาวะเสี่ยง (กลุ่มเสี่ยงต่ำ (…
การตั้งครรภ์เสี่ยง (Risk of pregnncy)
ความหมาย
การตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนหรือมีปัญหาสุขภาพที่ทำให้ทั้งมารดาและทารกมีโอกาสได้รับรับอันตรายหรือเสี่ยงตายสูงหรือเกิดความพิการ ซึ่งภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้นได้ในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอดและระยะหลังคลอด
ปัจจัยเสี่ยงและผลกระทบต่อสุขภาพมารดา-ทารก
ปัจจัยเสี่ยงด้านชีวกายภาพ (Biophysical risk)
1.2 ด้านโภชนาการ
ปัจจัยเสี่ยง
การขาดสารอาหาร
การขาดธาตุเหล็ก ไอโอดีนและแคลเซียม
ขาดโฟลิคแอซิดในไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อมารดา
น้ำหนักตัวน้อยกว่าปกติ
เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ซีด Hct <38% อ่อนเพลีย
ผลกระทบต่อทารก
ทารกตัวเล็กกว่าอายุครรภ์
ความผิดปกติของท่อปราสาท(Neural tube)
ทารกน้ำหนักน้อย
1.1พันธุกรรม ครอบครัวมีประวัติ
ปัจจัยเสี่ยง
มีบุตรปัญญาอ่อน ,พิการแต่กำเนิด
โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
โรคเลือดทาลัสซีเมีย
ผลกระทบต่อมารดา
วิตกกังวล เครียด
เสี่ยงเกิดภาวะเบาหวานจากการตั้งตั้งครรภ์ (Gestational diabetic)
เสี่ยงเกิดภาวะความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อทารก
มีความผิดปกติแต่กำเนิด
ทารกตัวโต
มีความผิปกติของโครโมโซม
1.3 ความเจ็บป่วยในระยะตั้งครรภ์
ปัจจัยเสี่ยง
เป็นเบาหวาน
โรคหัวใจและหลอดเลือด
โรคความดันโลหิตสูง
โรคธาลัสซีเมีย
ผลกระทบต่อมารดา
ความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์ (PIH, Preeclampsia)
น้ำตาลในเลือดสูง
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
โลหิตจางมากขึ้น
ผลกระทบต่อทารก
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ทารกน้ำหนักแรกเกิดน้อย
ทารกตายในครรภ์
เป็นพาหะธาลัสซีเมีย
1.4 ประวัติทางสูติศาสตร์
ปัจจัยเสี่ยง
เคยคลอดบุตรก่อนกำหนดมาแล้ว 2 ครั้งขึ้นไป
เคยแท้งบุตรเองติดต่อกันมาแล้ว 2 ครั้งขึ้นไป
ผ่านการตั้งครรภ์และคลอดตั้งแต่ 4 ครั้งขึ้นไป
ผลกระทบต่อมารดา
วิตกกังวล เครียด
ตกเลือดก่อนคลอด
ทารกมีส่วนนำผิดปกติ
ผลกระทบต่อทารก
เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด
เสี่ยงต่อการแท้ง
เสี่ยงต่อการสูญเสียทารกในครรภ์
1.5 การตรวจร่างกาย
ผลกระทบต่อมารดา
การคลอดยาก
ความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์
ขาดสารอาหาร
ผลกระทบต่อทารก
ทารกในครรภ์โตช้า
ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย
ทารกตายในครรภ์
ปัจจัยเสี่ยง
หลังอายุครรภ์ง 28 สัปดาห์น้ำหนักเพิ่มขึ้นน้อยกว่า 1 กก./สัปดาห์ หรือน้ำหนักลดลง
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์น้อยกว่า 40 กก. BMI น้อยกว่า 19.8กก/ตารางเมตร
คามดันโลหิต >140/80 mmHg
1.6 การตรวจครรภ์
ผลกระทบต่อมารดา
ความดันโลหิตสูง, โลหิตจาง ตกเลือดก่อนคลอด, น้ำคร่ำมาก
ขาดสารอาหาร
ครรภ์แฝด แฝดน้ำ เบาหวาน ครรภ์ไข่ปลาอุก เนื้องอกในมดลูก
ผลกระทบต่อทารก
ทารกตายในครรภ์ ทารกน้ำหนักน้อย โตช้า
ทารกโตช้า ผิดปกติแต่กำเนิด คลอดก่อนกำหนด สายสะดือพลัดต่ำ (prolapse cord)
รกตัวโต
ปัจจัยเสี่ยง
ครรภ์แฝด (Multiple pregnancy)
ขนาดหน้าท้องเล็กกว่าอายุครรภ์(small for gestational age)
ขนาดหน้าท้อใหญ่กว่าอายุครรภ์(sjze > date)
1.7 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผลกระทบต่อมารดา
โลหิตจาง
ติดเชื้อซิฟิลิส
มีโอกาสเป็นพาหะโรคธาลัสซีเมีย
ผลกระทบต่อทารก
ทารกในครรถ์ขาดสารอาหาร ทารกโตช้า น้ำหนักน้อย ทารกคลอดก่อนกำหนด
แท้ง ,บวมน้ำม, ตายในครรภ์ ทารกเป็นซิฟิลิสแต่แรกเกิด
คลอดก่อนกำหนด ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย มีโอกาสเป็นพาหะโรคธาลัสซีเมีย
ปัจจัยเสี่ยง
VDRL reactive-การคลอดยาก, การคลอดยาวนาน การคลอดโดยสูติศาสตร์หัตถการ
HIV positive
Hb < 11 gm% ,Hct < 33%
ปัจจัยเสี่ยงด้านสังคม (Sociodemographic risk)
3.1 รายได้น้อย การศึกษาน้อย
ผลกระทบต่อมารดา
ขาดอาหาร ขาดการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อภาวะโลหิตจาง ความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อทารก
ทารกในครรภ์โตช้า
ทารกน้ำหนักน้อยแรกเกิด
ทารกมีความผิดปกติแต่กำเนิด
3.2 ขาดการดูแลขณะตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อมารดา
ขาดโอกาสที่จะได้รับการตรวจ วินิจฉัยและการรักษาภาวะแทรกซ้อนที่เร็วทำเสี่ยงต่ออันตรายจากภาวะแรกซ้อน
3.3 อายุผู้ตั้งครรภ์เป็นตัวบ่งชี้ภาวะเสี่ยงทั้งมาดา ทารก
ปัจจัยเสี่ยง
อายุน้อยกว่า 15 ปี
ผลกระทบต่อมารดา
การคลอดยาก การคลอดยาวนาน เนื่องจากภาวะ CPD PIH, Aemia
เสี่ยงเกิดโรคแทรกซ้อนได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน
ผลกระทบค่อทารก
อัตราตายของทารกสูง
ทารกตายแรกเกิด
3.4 จำนวนครั้งการตั้งครรภ์
ปัจจัยเสี่ยง
การตั้งครรภ์ครั้งแรก(primigravida)
ตั้งครรภ์และคลอดตั้งแต่ 4 ครั้งขึ้นไป(multigravida)
ผลกระทบต่อมารดา
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะความดันโลหิตสูงในระยะตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการคลอดยาก
คลอดเฉียบพลัน
ผลกระทบค่อทารก
ได้รับอันตรายจากการคลอด
อันตรายจากการคลอด
ี 4. ปัจจัยเสี่ยงด้านสภาพแวดล้อม (Environmental risk)
4.1 สิ่งแวดล้อมทีเสี่ยง
ปัจจัยเสี่ยง
เสี่ยงต่อการติดเชื้อเช่นโรงพยาบาล ชุมชนหนาแน่น สถานที่อับชื้นอาจติดเชื้อ หวัดใหญ่ โควิด 19 หัดเยอรมัน เริมฯลฯ
รังสี สารพิษเช่นสารตะกั่ว สารปรอท สารเคมีเช่นยาฆ่าแมลง มลภาวะจากอุตสาหกรรม
ผลกระทบต่อมารดา
แท้งบุตร
ไม่สุขสบาย ปวดศีรษะ มึนงงคลื่นไส้อาเจียน กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ผลกระทบต่อทารก
พิการแต่กำเนิด
ทารกมีภาวะศีรษะเล็ก(microcephaly) ถ้ามารดาได้รันรังสีขณะตั้งครรภ์ ช่วง7-15 สัปดาห์
ปัจจัยเสี่ยงด้านจิตสังคม (Psychosocial risk)
2.1ความเครียด ความวิตกกังวล อารมณ์แปรปรวนความสับสนในบทบาทการเป็นมารดา
ผลกระทบต่อมารดา
ขาดการดูแลตนเองในขณะตั้งครรภ์ขาดสารอาหาร นอนไม่หลับ ไม่สนใจตนเอง
ผลกระทบต่อทารก
เสี่ยงต่อการแท้ง การคลอดก่อนกำหนดและทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย
2.2 ขาดการสนับสนุนจากครอบครัวหรือสังคม
ปัจจัยเสี่ยง
ครอบครัวแตกแยก
การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
การเจ็บป่วยเรื้อรัง
ผลกระทบต่อมารดา
วิตกกังวล เครียด เบื่อหน่าย
ขาดการดูแลตนเองระหว่างตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อทารก
เสี่ยงต่อการแท้ง การคลอดก่อนกำหนดและทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย
2.3 อุปนิสัยการรับประทานอาหารไม่ เหมาะสม
ผลกระทบต่อมารดา
ภาวะทุพโภชนาการ ดลหิตจาง
เบาหวานจากการตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อทารก
ทารกขนาดเล็กกว่าอายุครรภ์
ทารกน้ำหนักน้อยแรกเกิด หรือทารกตัวโต
ทารกโตช้า ทารกคลอดก่อนกำหนด
2.4 การสูบบุหรี่
ผลกระทบต่อมารดา
เสี่ยงต่อการแท้งและถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ผลกระทบต่อทารก
ทารกมีความพิการแต่กำเนิด
2.5 แคฟิอีน
ผลกระทบต่อทารก
อัตราการตายทารกแรกเกิดสูง
2.6 แอลกอฮอล์
ผลกระทบต่อมารดา
ขาดสารอาหาร โรคตับแท้งเอง
ผลกระทบต่อทารก
ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย
ทารกในครรภ์โตช้า เด็กมีอาการ hyperactive
การเรียนรู้ช้า
2.7สารเสพติด เช่น เฮโรอีน โคเคน มารีฮัวนา
ผลกระทบต่อมารดา
ผลต่อการเผาผลาญของร่างกาย การทำงานของระบบประสาทส่วนกลางขาดสารอาหารเสี่ยงติดเชื้อ HbAg, HIV
ผลกระทบต่อทารก
ความผิดปกติแต่กำเนิด ของสมอง ไต ทางเดินปัสสาวะ
ทารกในครรภ์โตช้า
คลอดก่อนกำหนด น้ำหนักน้อย ขาดออกซิเจน
2.8 พฤติกรรมทางเพศเสี่ยง
ผลกระทบต่อมารดา
โรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ผลกระทบต่อทารก
ทารกน้ำหนักน้อยแรกเกิด
ทารกมีความผิดปกติแต่กำเนิด
แท้ง ทารกในครรภ์โตช้า
การคัดกรองความเสี่ยง
เกณฑ์คัดกรองการตั้งครรภ์เสี่ยงของคูปแลนด์ (Coopland)
ปัจจัยด้านชีวภาพและประวัติทางสูติกรรม (Biological factor and previous obstetric history)
2.ปัจจัยเกี่ยวกับความเจ็บป่วยทางอายุรกรรมและนรีเวช Previous Medical and Gynological diseases)
3.ปัจจัยเสี่ยงขณะการตั้งครรภ์ปัจจุบัน ( Present pregnancy complication)
การแปลภาวะเสี่ยง
กลุ่มเสี่ยงต่ำ ( Low risk) คือกลุ่มที่มีผลรวมของคะแนนความเสี่ยงอยู่ในช่วง 0 – 2 หมายความว่า ภาวะเสี่ยงมีผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์เล็กน้อย
กลุ่มเสี่ยงปานกลาง (moderate risk) คือกลุ่มที่มีผลคะแนนความเสี่ยงอยู่ในช่วง 3 – 6 ภาวะเสี่ยงมี
ผลกระทบต่อหญิงตั้งครรภ์และทารกเป็นกลุ่มที่ต้องมีการตรวจ วินิจฉัยและเฝ้าระวังความรุนแรง
กลุ่มเสี่ยงสูง (High risk ) กลุ่มที่มีผลรวมคะแนนความเสี่ยงตั้งแต่ 7 คะแนนขึ้นไป บ่งชี้ภาวะเสี่ยงมี
ผลกระทบอย่างรุนแรงต่อมารดาทารก ต้องได้รับการตรวจวินิจฉัยและติดตามอาการอย่างใกล้ชิดสม่ำเสมอ
นางสาวพรธิตา ลามคำ รหัส 6001110801094 นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยปทุมธานี