Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการด้านร่างกาย (วัยผู้สูงอายุ (ผม เล็บ (เมื่ออายุ 30…
การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการด้านร่างกาย
วัยรุ่น
การปปลักษณะทางปฐมภูมิ > สามารถสร้างเซลล์สืบพันธ์ุได้
ช ปปอัณฑะกับองคชาติ มีการฝันเปียกหลั่งอสุจิ
ญ ปปรังไข่ มดลูก ช่องคลอด มีประจำเดือนครั้งแรก
การปปลักษณะทางทุติยภูมิ > ไม่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการ สร้างเซลล์สืบพันธ์ุโดยตรง เป็นแบบปปลักษณะร่างกายเฉยๆ
เต้านมขยาย
เสียงแตก
ฮอร์โมน testosterone ทำให้เสียงผชแตก แหบพร่า
อายุ 13-14 เริ่มปปเสียง
อายุ 16-18 เสียงเริ่มแตก
อายุ 20 เริ่มบังคับเสียงได้ เสียงนุ่มนวลขึ้น
มีขนตามอวัยวะเพศ รักแร้ หัวเหน่า
กล้ามเนื้อ กระดูกสะโพกเชิงกรานขยาย
ฮอร์โมน Testosterone กระตุ้นการเติบโตกล้ามเนื้อ
ฮอร์โมน Estrogen เพิ่มไขมันใต้ผิวหนังที่สะโพกและทรวงอก
ถ้า ญ อายุ 18-20 (วัยรุ่นตอนปลาย) จะสะโพกผาย อกขยาย เอวขอด
อวัยวะสืบพันธ์ุ ชญเริ่มทำความคุ้นเคยกับร่างกาย มีการลูบคลำ สำรวจ
ผชจะชักว่าวสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง
วัยเรียน
น้ำหนัก เพิ่มประมาณ 2-3.5 / ส่วนสูง เพิ่มประมาณ 5 / สมอง สร้างเซลล์ประสาทสมบูรณ์เมื่ออายุ 7 ปี สมองจะโตเต็มกะโหลกเมื่ออายุ 12 ปี
เป็นวัยฟันหลุดเพราะฟันน้ำนมเริ่มหัก
เป็นวัยเเขนหักบ่อยเพราะกระดูกทนแต่เเรงดึงและแรงต้านมากๆ
ไม่ได้ แต่ควบคุมกล้ามเนื้อได้ดีขึ้น
เด็ก ญ + ช อายุ 10-12 ปี (ป.5-6) ญ จะโตเร็วกว่า ช
หญฺิง จะมีขนที่อวัยวะเพศและจักแร้ สะโพกผาย อกขยายใหญ่ หลอดเสียงมีพัฒนาการเต็มที่ เริ่มมีประจำเดือน
ชาย มีหนวดเครา มีขนที่อวัยวะเพศ จักแร้และหน้าอก ไหล่กว้างขึ้น มือเท้าใหญ่ เสียงแตกห้าว เริ่มมีการหลั่งอสุจิ หรือ ฝันเปียก
วัยผู้สูงอายุ
ผิวหนัง
ผิวหนังชั้นบนหรือหนังกำพร้าบาง ทำให้แผลหายช้า
ความหนาแน่นหรือจำนวนเซลล์ ชั้นหนังแท้ลด
สร้างน้ำมันใต้ผิวหนังได้น้อยลง ทำให้ผิวแห้งเป็นขุย มีอาการคัน
สร้างเส้นในคอลลาเจนอีลาสติกน้อยลง ทำให้เกิดรอยเหี่ยวย่น
หย่อยคล้อย ตามหนังตา คอ แก้ม ใต้คอ คาง
ผม เล็บ
เมื่ออายุ 30 ผมจะเริ่มหงอกขาวเพิ่มขึ้น 10-20% ทุกๆ 10 ปี
รากผมไม่สร้างเม็ดสี ทำให้ผมขาว
หนังหัวเหี่ยวย่น การไหลเวียนเลือดลดลง ทำให้ผมร่วงและแห้ง
คนสูบบุหรี่ผมขาวเร็วกว่า 4 เท่า
และ คนทำงานหนัก พักผ่อนน้อย กินอาหารไม่พอ ทำให้รากผมไม่แข็งแรง ผมร่วงง่าย สร้างเม็ดสีน้อย
การไหลเวียนเลือดส่วนปลายน้อยแถวๆเล็บอะ และ
การจับตัวของแคลเซียมลดลง ทำให้เล็บหนา แข็งและเปราะ
กระดูกและกล้ามเนื้อ
เกิดการสลายกระดูกมากกว่าสร้าง ความหนาแน่นความแข็งแรงของกระดูกลดลง ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดกระดูกพรุน กระดูกหัก
กระดูกพรุนเกิดได้จากปัจจัยเสี่ยงอื่นด้วย เช่น สูบบุหรี่ ดื่มน้ำอัดลม แคลเซียมไม่พอ ผอม ผญ พันธุกรรม วัยทอง
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อลดลง อาจทำให้กล้ามเนื้อฝ่อลีบ
เส้นประสาท รอยต่อเส้นประสาทลดลง ทำให้หดเกร็งกล้ามเนื้อได้ไม่นาน
การใช้งานของกระดูกและข้อต่อมาก ทำให้สูญเสียความยืดหยุ่น
และเสียมวลกระดูก
หมอนรองกระดูกสันหลังกร่อนและแบนลง ทำให้หลังโกง
หัวใจและหลอดเลือด
ในหลอดเลือดมีการสะสมของไขมันและแคลเซียม
ทำให้หลอดเลือดแข็ง และยืดหยุ่นน้อยลง
รูเส้นเลือดแคบลง ทำให้เกิดแรงต้านการไหลเวียนเลือด ความดันเลยสูง
การเต้นของหัวใจและความแรงในการบีบตัวลดลง หัวใจโต เลือดไหลออกจากหัวใจไปเลี้ยงร่างกายน้อยลง ทำให้เกิดการตายและเสื่อมของอวัยวะต่างๆ
ทางเดินหายใจ
ผนังถุงลมบาง
ความยิดหยุ่นของกล้ามเนื้อปอดและหลอดลมลดลง
ความจุปอดลดลง
การแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง
ทำให้มีอากาศค้างในปอดมากขึ้น เลือดจับออกซิเจนในปอดน้อย มีเสมหะภายในมากขึ้น
การทำงานของเซลล์ขนน้อยลง ดักจับสปปได้น้อย
การทำงานของภูมิคุ้มกันลดลง เสี่ยงต่อการติดเชื้อทางเดินหายใจมากขึ้น
ทางเดินอาหาร
การปปฟันและเหงือก
เหงือกร่น รากฟันโผล่ ทำให้เสียวฟัน ฟันผุ ฟันสึกกร่อน ฟันโยก
ทำให้กินอาหารช้า ประสิทธิภาพการบดเคี้ยวลดลง
หลั่งน้ำย่อยลดลง การบีบตัวและเคลื่อนตัวของกระเพาะอาหารลดลง
ทำให้ย่อยและดูดซึมอาหารลดลง
กลไกการกลืนแบ่งเป็น 3 ระยะ
ระยะคอหอย
กล่องเสียงยกตัว ขึ้นมารับกับฝาปิดกล่องเสียงช้า
ระยะหลอดอาหาร
หูรูดหลอดอาหารส่วนต้นปิดช้า อาหารอยู่คอหอยนาน
เสี่ยงต่อการสำลักอาหาร เข้าสู่ทางเดินหายใจ
ระยะช่องปาก
ไม่มีฟัน กำลังใช้บดเคี้ยวลด การประสานริมฝีปากและลิ้นลดลง
ทำให้กบกเตรียมและส่งอาหารนานขึ้น
ทางเดินปัสสาวะ
ขนาดไตลดลง การกรองไตจึงลดลงด้วย
กระเพาะปัสสาวะเล็กลง ทำให้มีความจุน้อย จึงฉี่บ่อย
ถ้าผชต่อมลูกหมากโตจะทำให้ฉี่ลำบาก
กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน หย่อนตัว หูรูดปัสสาวะหดตัวรัดได้ไม่ดี ทำให้ฉี่ซึม กลั้นฉี่ไม่ได้
ระบบสืบพันธุ์
ญ หมดประจำเดือน อวัยวะเพศภายนอกฝ่อ เซลล์ที่บุผิวยืดหยุ่นน้อยลง หลั่งเมือกลดลง น้ำหนักมดลูกลดลง ปีกมดลูกเล็กลง รังไข่ฝ่อ นมเหี่ยว
ช อัณฑะเหี่ยวเล็กลง การเเข็งตัวของอวัยวะเพศไม่ดี
ระบบประสาท
การเรียนรู้และความจำ ลดลงเมื่ออายุ40-50จะลดลงมากเมื่อ70 ขึ้นไป
จำเรื่องราวในอดีตได้ดี long term
จำเกี่ยวกับสิ่งใหม่ๆลดลง short term
ยังสามารถเรียนรู้สิ่งใหม่ๆได้ถ้าเขาสนใจหรือเคยมีประสบการณ์เดิมที่ผ่านมา แต่ต้องใช้เวลาในการเรียนรู้
ควรเขียนหนังสือตัวโต ใช้สีกระตุ้น ให้เขาจดบันทึก ไม่ถามซ้ำหรือเน้นในเรื่องที่เขาจำไม่ได้
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมใต้สมองเสื่อม ผลิตฮอร์โมนได้น้อย ทำให้เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย
ต่อมหมวกไต ผลิตฮอร์โมน cortisol ลดลง ทำให้เครียดหงุดหงิดง่าย
ต่อมไทรอยด์ เล็กลงหลัง 50 ปี ผลิตฮอร์โมนน้อย ทำให้เบื่ออาหาร
ตาฟางขุ่นมัว
ตับอ่อน หลั่ง insulin น้อยลง ทำให้น้ำตาลในเลือดสูง
ระบบรับผัสผัสทั้ง 4
หู
ประสาทรับเสียงเสื่อม ไหลเวียนเลือดทำให้เกิดการแข็งของเส้นเลือดในหูชั้นใน อาจหูตึง ขี้หูอุดตัน แก้วหูยืดหยุ่นน้อย
จมูก
เยื่อบุโพรงจมูกกับประสาทรับกลิ่นเสื่อมลง
ตา
ตาเล็กลง ไขมันหลังตาน้อย หนังตาตก ประสาทตาเสื่อม เลนส์เสียความยืดหยุ่น แก้วตาขุ่นมัว การมองเห็นแคบ
ลิ้น
ต่อมรับรสที่ลิ้นลดจำนวนลง น้ำลายข้น ช่องปากแห้ง การรับรสด้อยประสิทธิภาพ
ผสอ จึงชอบกินอาหารรสจัด เค็มหวาน
วัยผู้ใหญ่
อายุ 20-25 ร่างกายเติบโตสมบูรณ์สูงสุด
ถ้าอายุ 30 ร่างกายจะค่อยๆเสื่อมลง
ผญวัยทอง (นับเมื่อปจดขาดมา 1 ปี อายุประมาณ 48 ปี)
ขาดฮอร์โมน Estrogen
ทำลายกระดูกมากกว่าสร้างกระดูก อาจเกิดภาวะกระดูกพรุน
ช่องคลอดเเห้ง
เหงื่อออก หนาวสั่น
มีอาการร้อนวูบวาบ hot flashes
นอนไม่หลับ
กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ฉี่บ่อย
ตอบสนองทางเพศลดลง เจ็บปวดเวลามีเพศสัมพันธ์ุเพราะช่องคลอดแห้ง
ผชวัยทอง (อายุ 40-65 ปี)
ฮอร์โมน Androgen และ Testosterone ลด
การเสื่อมของอัณฑะ
อ่อนเพลียง่าย ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
อ้วนลงพุง
ไม่กระฉับกระเฉง
กล้ามเนื้อลด ไขมันเริ่มสะสมที่หน้าท้อง