Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บาดแผลไหม้ (Burns) (ความรุนแรงของการเกิดแผลไหม้ (ประเมินโดยใช้ความลึกของแผ…
บาดแผลไหม้ (Burns)
ความรุนแรงของการเกิดแผลไหม้
ประเมินโดยใช้ความลึกของแผลไหม้ (Degree of burn)
First degree burn
มีการทำลายเฉพาะชั้นหนังกำพร้า ผิวหนังบริเวณนั้น จะมีสีชมพูหรือสี
แดง มีความนุ่ม ไม่มีตุ่มพอง มีอาการปวดแสบ แผลหายได้เองภายใน 3-5 วัน
การรักษา
สามารถใช้ครีมยาทาแผลเฉพาะภายนอก หรือ ปิดด้วยผลิตภัณฑ์ปิดแผลชนิดต่างๆ โดยต้องได้รับการยืนยันจากแพทย์
Second degree burn
Superficial partial thickness จะมีการทำลายชั้นหนังกำพร้าทั้งหมดและบางส่วนของหนังแท้ ผิวจะมีสีแดง มีตุ่มพอง ปวดแสบมาก เพราะมีเส้นประสาทรับความรู้สึกอยู่ในชั้นหนังแท้ ระยะเวลาในการหายของแผลประมาณ 7-14 วัน มีแผลเป็น
การรักษา
สามารถการใช้ครีมยาทาแผลเฉพาะภายนอก หรือ ปิดด้วยผลิตภัณฑ์ปิดแผลชนิดต่างๆ โดยต้องได้รับการยืนยันจากแพทย์
Deep partial thickness มีการทำลาย ของชั้นหนังกำพร้าทั้งหมด ส่วนมากของหนังแท้จะ ถูกทำลาย แต่ยังคงมีเหลืออยู่บ้างที่งอกขึ้นมาทดแทน กลับคืนเป็นผิวหนังได้ สีผิวจะเป็นสีขาว ซีด ตุ่มพองมีน้อยหรือแฟบความรู้สึกปวดแสบลดลง ระยะเวลาในการหายของแผลประมาณ 14-28 วัน จะเป็นแผลเป็นมาก
การรักษา
การใช้ยาปฏิชีวนะเฉพาะที่จะช่วยให้แผลไม่ติดเชื้อ
Third degree burn
ผิวหนังถูกทำลายทุกชั้น ทั้งชั้นหนังก้าพร้า หนังแท้ โดยลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อ หรือกระดูกแผลไหม้จะมีลักษณะขาว ซีด เหลือง ดำ หนาแข็ง ไม่มีอาการเจ็บปวด การหายของแผลต้องใช้เวลานาน และต้องทำskin graft ร่วมด้วย จะมีการดึงรั้งของแผลท้าให้ข้อยึดติด เมื่อหายแล้ว จะเป็นแผลเป็น
การรักษา
บาดแผลประเภทนี้จะไม่หายเอง จำเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัดปลูกผิวหนัง นอกจากนี้จะมีการดึงรั้งของแผลทำให้ข้อยึดติด เมื่อหายแล้วจะเป็นแผลเป็น บางรายจะพบแผลเป็นที่มีลักษณะนูน มักเกิดจากไฟไหม้หรือถูกของร้อนนาน ๆ หรือไฟฟ้าช็อต ถือเป็นบาดแผลที่ร้ายแรง
ประเมินโดยใช้ความกว้างหรือขนาดของแผลไหม้ (Extent of burn)
ส้าหรับเด็กอายุน้อยกว่า 4 ปี
ไม่สามารถใช้ Rule of
nines ได้เหมือนในผู้ใหญ่จึงมีการใช้Formula อื่นในการประมาณ
Burn size
ผู้ใหญ่
คำนวณโดยแบ่งส่วน
ของร่างกายออกเป็นส่วนละ 9%
อายุ (Age)
แผลไหม้ที่เกิดในเด็กเล็ก อัตราการตายจะสูงขึ้น โดยเฉพาะในช่วงอายุ ต่้ากว่า2 ปี
ส่วนของร่างกายที่ถูกไหม้ (Part of Body Burn) ความรุนแรงจะแตกต่างกันตามส่วนที่ถูกไหม้
การบาดเจ็บร่วม (Concurrent Injury)
ประวัติความเจ็บป่วย (Past Medical History) ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัว
ประเภทของแผลไหม้ (Type of Burn)
ประเภทของแผลไหม้
แผลไหม้จากความร้อน (Thermal injury)
ความร้อนแห้ง เช่น เปลวไฟ(flame), ประกาย
ไฟ( flash)
ความร้อนเปียก เช่น น้้าร้อน(scald), ไอน้้าร้อน(steam), น้้ามันร้อน
แผลไหม้จากกระแสไฟฟ้า (Electrical injury) เช่น ฟ้าผ่า, ไฟฟ้าแรงสูงกระแสไฟฟ้าผ่านเข้าสู่
ร่างกายเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน ท้าให้เกิดแผลไหม้ที่ผิวหนังภายนอก
แผลไหม้จากรังสี (Radiation injury) เช่น สารกัมมันตรังสี อุบัติเหตุจากรังสี ระเบิดปรมาณู
แผลไหม้จากสารเคมี (Chemical injury) เป็นกรดและด่าง
ปัญหาและการพยาบาลผู้ป่วยแผลไหม
ระยะฉุกเฉิน ปัญหาที่พบในระยะ 24-72 ชั่วโมงแรก
การพยาบาล
ประเมินสภาพเบื้องต้นตามหลัก ABC
หยุดกระบวนการเผาไหม้ที่ยังหลงเหลืออยู่
ซักประวัติจากผู้ป่วยและญาต
ป้องกันการเกิดภาวะ hypovolemic shock จากการสูญเสียน้้า
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้้าทดแทน ตามแผนการรักษา
บันทึกจำนวนปัสสาวะทุกชั่วโมง
เจาะเลือดส่งตรวจ ABG, CBC, electrolyte, BUN, Cr, Total protein, Albumin, PT, PTT เป็นระยะๆ
ป้องกันปัจจัยเสริมที่ท้าให้ร่างกายสูญเสียน้ำในร่างกาย
ชั่งน้้าหนักวันละครั้ง
ตรวจสอบสัญญาณชีพ ทุก 15 – 30 นาที ในชั่วโมงแรกๆ และต่อไปทุก 1 ชั่วโมง หรือตามสภาพผู้ป่วย
พร้อมทั้งประเมินระดับความรู้สึกตัวและประเมินการไหลเวียนของเลือด
ระยะวิกฤต (Acute phase)
ปัญหาความเจ็บปวด
การติดเชื้อของแผล
ภาวะทุพโภชนาการ
การประคับประคองด้านจิตใจ เพื่อ ลดความวิตกกังวล
ระยะเฉียบพลัน(Acute stage) เริ่มตั้งแต่ วันแรกของการเกิดแผลไฟไหม้น้้าร้อนลวกจนถึง 2-4 สัปดาห์ ระยะนี้ผู้ปุวยจะพบการกดดันทางด้านจิตใจ
ระยะปรับตัว (Adaptive stage) 2-4 สัปดาห์จนถึงหลายเดือน ระยะนี้ปฏิกริยาตอบสนอง ทางจิตใจ
และอารมณ์ของผู้ปุวยขึ้นอยู่กับบุคลิกภาพ
ระยะฟื้นตัว (Rehabilitation stage) เกิดได้ตั้งแต่หลายเดือนจนถึงหลายปี ผู้ปุวยที่มีความหดรั้บริเวณแผลไฟไหม้ที่ต้องท้ากายภาพบ้าบัด จะเกิดความวิตกกังวลได้หรือกรณีผู้ปุวยที่สูญเสีย ภาพลักษณ์ อาจเกิดงภาวะซึมเศร้าได้
ระยะฟื้นฟู(Rehabilitative phase)
เป็นระยะที่แผลหาย ผู้ปุวยพร้อมที่จะกลับบ้านปัญหาที่พบในช่วงนี้
ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับการท้าหน้าที่ของส่วนต่างๆของร่างกายที่ไม่เหมือนเดิมจากแผลเป็น หรือจากความพิการ การสูญเสียอวัยวะจากการ บาดเจ็บ และก่อให้เกิดปัญหา
ทางด้านจิตใจเกี่ยวกับ ภาพลักษณ์ที่เปลี่ยนไปมาก
การเปลี่ยนแปลงของร่างกายเมื่อเกิดแผลไหม้
Localized effect คือ การเปลี่ยนแปลงเฉพาะที่เกิดที่ผิวหนังที่ได้รับบาดเจ็บโดยตรง
Systematic effect
ผลกระทบต่อระบบหัวใจและระบบไหลเวียนโลหิตขึ้นอยู่กับความรุนแรงและความกว้างของพื้นที่
ผิวที่เกิดแผลไหม้
การเปลี่ยนแปลงของเลือด
อิเลคโตรไลท์และกรดด่าง
ทางเดินหายใจ
ผลกระทบต่อการเผาผลาญอาหาร
ผลกระทบต่อภูมิคุ้มกัน
ผลกระทบต่อระบบทางเดินอาหาร mucosa blood flow ลดลง
ผลกระทบต่อกล้ามเนื้อและโครงกระดูก
ความหมายของแผลไหม้
การที่ผิวหนังหรือเนื้อเยื่อของร่างกายที่อยู่ในส่วนตื้นหรือที่อยู่ในชั้นลึกลงไป ถูก
ท้าลายจากการสัมผัสแหล่งพลังงาน