Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจพิเศษ ANC (Ultrasound (การอัลตราซาวน์ ในไตรมาสที่ 2…
การตรวจพิเศษ ANC
Ultrasound
-
เมื่อเปิดเครื่องอัลตร้าซาวน์ กระแสไฟฟ้าสลับที่ไหลเข้ามาภายในเครื่องจะผ่านหัวตรวจซึ่งภายในมีผลึก ทาให้เกิดการสั่นสะเทือน และมีการปล่อยคลื่นเสียงความถี่สูงออกมาจากหัวตรวจ ผ่านลงสู่ผิวหนังเข้าไปยังอวัยวะภายในที่ต้องการตรวจ
เมื่อเสียงกระทบเนื้อเยื่อต่างชนิดกัน จะเกิดการสะท้อนและการดูดกลับของเสียงไม่เท่ากันในเวลาที่ไม่เท่ากันตามระดับความลึกของเนื้อเยื่อนั้นๆ และถูกแปลผลให้ปรากฏเป็นภาพบนจอ
ภาพที่แสดงให้เห็นทางจอภาพจะแสดงในรูปแบบของจุด (Pixel) เช่น ถ้าเป็นเนื้อเยื่อที่มีความหนาแน่นมาก เช่น กระดูก ก็จะแสดงให้เห็นเป็นสีขาว ถ้าเป็นเนื้อเยื่อก็จะเป็นส่วนที่มืดมากขึ้น
ถ้าเป็นของเหลวก็จะเป็นสีดา เป็นต้น
-
-
-
-
Biophysical profile BPP
-
-
-
การดูแลรักษา
-
6-8 คะแนน ให้พิจารณาตามปริมาณน้ำคร่ำ ถ้าน้ำคร่ำปกติ โอกาสเกิด asphyxia จะน้อย แต่ต้องตรวจ BPP ซ้ำใน 24 ชั่วโมง แต่ถ้าน้ำคร่ำน้อยโอกาสเกิด asphyxia สูงขึ้น
8-10 คะแนน โดยที่มีปริมาณน้ำคร่ำปกติ แปลว่าทารกในครรภ์ยังปกติดี ไม่จำเป็นต้องรีบให้คลอด โอกาสเกิด asphyxia ในหนึ่งสัปดาห์น้อยกว่า 1 ใน 1000
-
-
การตรวจคัดกรอง
DM
ข้อบ่งชี้
-
-
-
- ประวัติการตั้งครรภ์ไม่ดี ได้แก่ - ทารกตายคลอดไม่มีสาเหตุ - ทารกพิการแต่กำเนิด - คลอดบุตจรหนักมากกว่า 4000 g - ทารกตายในครรภ์
-
-
-
-
การวินิจฉัยดาวน์ซินโดรม
วิธีการตรวจ
การเจาะตรวจน้ำคร่ำ
ขณะอายุครรภ์ 17-20 สัปดาห์ ทำให้ทราบว่าทารกมีโครโมโซมผิดปกติหรือไม่ แต่การเจาะตรวจน้ำคร่ำมีอัตราเสี่ยงต่อการแท้งบุตรประมาณ 1 ใน 350 ราย ดังนั้นสูติแพทย์จึงแนะนำการเจาะตรวจน้ำคร่ำในคุณแม่ที่มีความเสี่ยงสูงเท่านั้น
คุณแม่อายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป คุณแม่ที่คลอดลูกคนก่อนเป็นทารกดาวน์ หรือคุณแม่ที่ทำการตรวจคัดกรองเลือดแล้วได้ผลบวก เป็นต้น
-