Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
[Cog3-9] Prebiotic vs probiotic (Prebiotic (กลไก (♦ กระตุ้นการเติบโตของจุล…
[Cog3-9] Prebiotic vs probiotic
Prebiotic
คืออะไร
พรีไบโอติกคืออาหารจุลินทรีย์เป็นอาหารส่วนที่ไม่ย่อยในทางเดินอาหารส่วนบน ผ่านมาที่ลำไส้ส่วนล่าง เลือกส่งสริมการเติบโตของจุลินทรีย์บางชนิด ที่ลำไส้ใหญ่ซึ่งก่อให้เกิดผลดีต่อสุขภาพ
กลไก
♦ กระตุ้นการเติบโตของจุลินทรีย์สุขภาพ.
♦ จุลินทรีย์หมักพรีไบโอติกเกิดผลผลิตเป็นกรดยับยั้งการเติบโตของเชื้อฉวยโอกาสและเชื่อก่อโรค.:
ปฏิสัมพัธืกับเซลล์เยื่อบุลำไส้ยังไม่มีข้อมูล
♦ ข้อมูลการศึกษาผลของพรีไบโอติกสนับสนุนให้เป็น function food
Probiotic
แบ่งจุลินทรีย์ตามพฤติกรรมของมันได้ 4 กลุ่ม
1
กลุ่มแรก : เป็นกลุ่มก่อโรค
มักไม่อยู่ในทางเดินอาหาร แต่ถ้าเข้ามาในทางเดินอาหารมาก พอจะก่อโรค เช่น V. cholerae, Shigella, Salmonella
2
กลุ่มที่สอง เป็นกลุ่มฉวยโอกาสก่อการอักเสบ หากมีการเสียดุล
เช่นได้ยาปฏิชีวนะทำลายเชื้อดีๆให้ลดลง เชื้อกลุ่มนี้กลายเป็นเชื้อหมู่มากก็จะฉวยโอกาสก่อโรค ได้แก่ pseudomonas, staphylococci, protease, clostridium, veillonellae.
3
กลุ่มที่สาม เป็นกลุ่มที่อยู่กลางๆ อาจฉวยโอกาสก่อโรค
หรือทำหน้าที่ป้องกันได้ ได้แก่ E. coli, streptococci, bacteroides และ enterococci. กลุ่มนี้ใช้ทั้งแป้งและโปรตีนเป็นอาหาร.
4 จุลินทรีย์สุขภาพ (health germs)
กลุ่มที่สี่ เป็นกลุ่มที่ทำหน้าที่ปกป้องทางเดินอาหาร
เชื้อ bifidobacteria, lactobacilli และ eubacteria
กลุ่มนี้หมักใยอาหารที่ไม่ย่อยที่ลำไส้ส่วนบน เช่นพวกแป้งย่อยยาก (resistant starch), โอลิโกแซ็กคาไรด์ (oligosaccharides) และ อินูลิน (inulin).
แหล่งที่มา
ทารก ได้ bifidobacteria
จากการกลืนน้ำคร่ำ
= เชื้อดี
ในช่องคลอด
(ถ้าผ่าคลอดจะไม่ได้จุลินทรีย์จากช่องคลอด)
จากการกินนมแม่
. (ได้ทั้ง bifidobact และอาหารเลี้ยง oligosac , lactose )
เข้าไปเกาะยึดพื้นที่ลำไส้ไว้ได้ก่อน (window of opportunity) ทำให้เชื้อฉวยโอกาสก่อโรคมีโอกาสเข้าเกาะผิวเยื่อบุลำไส้ได้น้อย
เปรียบเทียบ
ทารกที่กินนมแม่
ทารกกินนมวัวผสม
bacteriodes ส่วนใหญ่
มีภาวะเป็นด่าง ( pH 7.0-7.5)
กรดไขมันห่วงสั้นเป็นกรดอะเซติก proprionic acid, butyric acid
Butyric ทำให้เกิด
ลำไส้เน่า
ในทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย
แต่เป็นพลังงาน
แก่ลำไส้ใหญ่อันเป็นประโยชน์ในเด็กและผู้ใหญ่ด้านการช่วยดูดซึมเกลือและน้ำในลำไส้ใหญ่
และอาจป้องกันการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ในผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ.
มีทั้ง bifidobact และอาหารเลี้ยง oligosac , lactose
มีภาวะเป็นกรด ( pH 5.0-5.7)
กรดไขมันห่วงสั้นเป็นอะเซติก และแล็กติก
ทำให้เยื่อบุลำไส้เล็กแบ่งตัวเติบโตแข็งแรง
ทำการย่อยและดูดซึมสารอาหารได้ดี
กรดช่วยยับยั้งการเติบโตของเชื้อที่อาจก่ออันตราย.
ได้วัคซีน VS ไม่ได้วัคซีน
เด็กที่ได้รับจุลินทรีย์สุขภาพเมื่อได้รับวัคซีน พบว่าระดับภูมิต้านทานสูงมากกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับ (เช่น โปลิโอ ไทฟอยด์) มีหน้าที่เป็นตัวทำให้วัคซีนได้ผลดี (vaccine adjuvant).
บทบาท
ป้องกันโรคและภูมิคุ้มกัน
การสื่อสารกันระหว่างเชื้อจุลินทรีย์และเยื่อบุลำไส้ (bacterial-epithelial cross talk) มีผลดังนี้
♦ กระตุ้นการสร้างเยื่อเมือกให้ชั้นเยื่อเมือกหนาขึ้นและมีคุณภาพเฉพาะสำหรับล่อให้เชื้อไวรัส โรต้า (pseudoreceptor) จับแทน ที่จะจับที่เซลล์เยื่อบุ.
♦ กระตุ้นเม็ดเลือดขาวให้เคลื่อนไหวมายังตำแหน่งที่เชื้อโรครุกล้ำเข้ามาสู่ร่างกาย.
♦ กระตุ้นเม็ดเลือดขาวให้จับกินแบคทีเรีย.
♦ ทำให้เนื้อเยื่อที่อักเสบบรรเทาลง.
♦ ซ่อมแซมเซลล์ที่บาดเจ็บให้ฟื้นตัว
GALT = sensor
ในโพรงลำไส้มีเชื้อแบคทีเรียหลากหลาย ซึ่งเซลล์จะต้องแยกแยะให้ออกว่าเป็นเชื้อดีหรือเชื้อร้าย.
ใต้เซลล์เยื่อบุมีเยื่อน้ำเหลืองเรียกว่า Gut Associated Lymphoid Tissue (
GALT
) เป็น sensor บอกว่าเชื้อนั้นเป็นเชื้อดี จะไม่สร้างความต้านทานมากำจัด
แต่ถ้าเป็นเชื้อร้ายก็จะสร้าง secretory IgA ออกมากำจัด
.
เชื้อดีจึงเกาะฉาบบนชั้นเยื่อเมือกหยุดยั้ง แย่งการเกาะจับของเชื้อก่อโรค
Streptococcus thermophilus). ช่วยย่อย น้ำตาลแล็กโทสในนม ทำให้กินนมแล้วท้องไม่อืด ถ่ายง่าย และไม่เป็นผื่นผ้าอ้อม.
ต่อการกระตุ้นภูมิคุ้มกันด้านการป้องกันโรคทางเดินหายใจและภูมิแพ้
บทบาท
ด้านโภชนาการ
เชื้อจุลินทรีย์เช่น Streptococcus thermophilus จะช่วยย่อยน้ำตาลแล็กโทสในน้ำนมได้ แม้ว่าเชื้อชนิดนี้จะ
ไม่จัดเข้าไว้ในกลุ่มโพรไบโอติกเ
พราะเป็นเชื้อที่ไม่เคยอยู่ในลำไส้มาก่อน
♦ ช่วยย่อยและดูดซึมสารอาหารต่างๆ.
♦ สังเคราะห์วิตามิน.
♦ หมักใยอาหารและโอลิโกแซ็กคาไรด์
ลดการเกิดลำไส้เน่า (necrotizing enterocolitis)
คุณสมบัติทนกรด-ด่าง
จุลินทรีย์ เข้าสู่สมดุล
วิธี 2 วิธี
วิธีแรก คือ เสริมจุลินทรีย์ในอาหาร (microbes for food)
วิธีที่สอง ให้อาหารกระตุ้นการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์สุขภาพในโพรงลำไส้ (food for microbes) ให้เติบโตได้สมดุลกับเชื้อกลุ่มอื่นๆ.
กลไกของ จุลินทรีย์สุขภาพ
เชื้อจุลินทรีย์สุขภาพ
เกาะบนผิวเยื่อบุลำไส้ไว้ก่อน
ไม่ให้เชื้อก่อโรคเกาะจับที่ผิวเยื่อบุลำไส้.
การหมักใยอาหาร
oligosaccharides
ได้ผลผลิตเป็น acetic acid และ Lactic ซึ่ง
ยับยั้งการเติบโต
ของเชื้อฉวยโอกาสก่อโรคอื่น
3.ปล่อยสาร bacteriocin
ทำลาย
เชื้ออื่นๆ.
4
แย่งอาหาร
ไม่ให้เชื้อฉวยโอกาสก่อโรคได้กิน จะได้ไม่เติบโต มีจำนวนเชื้อไม่มากเกิน.
5.
กระตุ้นภูมิคุ้มกัน
โดยการสื่อสารกับเนื้อเยื่อน้ำเหลืองในชั้นใต้เยื่อบุลำไส้ (gut- associated lymphocyte tissue, GALT) ทำให้มีการสร้างสารป้องกันและกระตุ้นภูมิคุ้มกันให้เข้าสู่ภาวะสมดุลนำไปสู่การตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายแบบป้องกัน. มากกว่าการตอบสนองแบบก่อการอักเสบ หรือภูมิแพ้
คือ : ทำให้จุลินทรีย์สุขภาพเพิ่มขึ้น
รักษา ท้องเสียจากการติดเชื้อได้มั้ย เพราอะไร
ควาามเชื่อ
: เชื่อว่าเมื่อกินนมซึ่งหมักโดยจุลินทรีย์ที่ดี เกิดผลผลิตเป็นกรดแล็กติก ลดการบูดเน่าและ
ลดสารที่เป็นพิษจากอาหารลง เป็นโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่
น้อย. และสามารถ สามารถป้องกันการ
เกิดโรคอหิวาต์ได้ :
ระบุวิธีการรับประทาน
ตัวอย่างผลิตภัณฑ์
Prebiotic
: โอลิโกแซ็กคาไรด์ คือ
♦ ฟรักโทโอลิโกแซ็กคาไรด์ (Fructo-oligosaccharides, FOS ).
♦ กาแล็กโทโอลิโกแซ็กคาไรด์ (Galacto-oligosaccharides, GOS ).
♦ โอลิโกแซ็กคาไรด์เชิงซ้อน (Complex oligosaccharides) ในนมแม่.
Probiotic
Bifidobacteria
Ex. B.bifidum , B.longum , B.breve, B.infantis
Lactoacili
L.acidophilus, L.casei, L.shitrota
L.plantarum, L.ulgaricus, L.rhamnosus
นมหมัก หรือนมเปรี้ยว