Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยระบบประสาท ที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ (การพยาบาลผู้ป่วยโร…
การพยาบาลผู้ป่วยระบบประสาท ที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ
การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดในสมอง
สาเหตุและปัจจยัเสี่ยง
thrombosis
Embolism
อาการ เกิดขึ้นทันทีทันใด
Hemorrhage
2) การตกเลือดที่เกิดจากการแตกของหลอดเลือดที่โป่งพอง
1) Intracerebral hemorrhageเกิดจากการแตกของcerebral vessel
ความหมาย
ภาวะที่สมองขาดเลือดไปเลี้ยงหลอดเลือด สมองตีบแคบหรือถูกอุดกั้นจากก้อนเลือด ก้อนไขมัน หรือการแตก
อาการและการแสดง
2)อาการทั่วไปที่พบได้แก่
ปวดศีรษะ
ไข้
คลื่นไฟฟ้าในสมองผิดปกติ
ชัก หมดสติ
อาเจียน
คลื่นไฟฟ้าของหัวใจเปลี่ยนแปลง
3) อาการเฉพาะ
อาการอ่อนแรงหรืออัมพาตครึ่งซีก
พูดไม่ได้ (aphasia)
กลืนลำบาก
การมองเห็นบกพร่อง
Horner’s syndrome
Kinesthesia ผปู้่วยจะมีการสูญเสียความรู้สึก
ปวดไหล่มากเนื่องจาก Loss of ROM
กระบวนการคิดและอารมณ์เปลี่ยนแปลง
1) อาการเตือน (Early warning signs)
อาการเตือนของ Thrombolic strok
วิงเวียนศีรษะกะทันหันปวดศีรษะทันทีโดยหาสาเหตุไม่ได้อัมพาตครึ่งซีกชั่วคราว
อาการเตือนจาก cerebral hemorrhage
อาการปวดศีรษะอย่างรุนแรงบริเวณท้ายทอย ปวดคอและปวดหลัง
การรักษา
การรักษาด้วยยา
1) การให้ยาละลายลิ่มเลือดที่เรียกว่า Thrombolytic
2) หากไม่สามารถให้ยา r-tPAจะใหย้าตา้นเกล็ดเลือดแทน
3) สำหรับผู้ที่หัวใจเต้นสั่นพลิ้วจะให้ยาต้านการแข็งตัวของเลือดเพื่อป้องกันการเกิดลิ่มเลือด
การรักษาโดยการผ่าตัด กรณีที่หากหลอดเลือดแดงใหญ่ที่คอ carotid artery
การใส่ clippในกรณีที่มี aneurysm
การรักษาปัจจัยเสี่ยง
พยาธิสรีรภาพ
สมองเกิดภาวะขาด ออกซิเจนและกลูโคส การไหลเวียนเลือดที่หยุดชะงักจากการอุดตันของก้อนเลือด หรือทรอมบัส จะทำให้สมองขาดเลือดไปเลี้ยง (Ischemia) ถ้าสมองขาดออกซิเจน 1 – 3 นาที ทำให้หมดสติ อาจเกิดการ ทำลายเซลล์ประสาทในสมองอย่างถาวร เซลล์สมองจะตาย เนื้อสมองส่วนที่ตาย
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
การพยาบาลในระยะเฉียบพลัน
การกำซาบออกซิเจนของสมองลดลง เนื่องจากสมองได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอจากหลอดเลือดในสมองมีการตีบหรืออุดตัน
กิจกรรมการพยาบาล
ตรวจสอบสัญญาณชีพและประเมินอาการทางระบบประสาท ทุก 1 – 2 ชั่วโมง
ให้ยาเพื่อเพิ่มการกำซาบออกซิเจนของสมองตามแผนการรักษา
ติดตามผลการวิเคราะห์ก๊าซในเลือดและเฝ้าสังเกต/ประเมินอาการขาดออกซิเจนและมี CO2คั่ง
ติดตามผลการตรวจเลือดเช่นการตรวจค่า Hct, Electrolyte, PTT
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคเนื้องอกในสมอง
อาการและอาการแสดง
อาการเฉพาะที่
สมองส่วนนั้นถูกทำลาย
เนื้องอกของสมองส่วน
ส่งผลให้เกิดการสูญเสียการได้ยิน (Hearing loss)
อาการหูอื้อ
วิงเวียนเหมือนบา้นหมุน
อาการทั่วไป
2.1 ปวดศีรษะเนื่องจากความดันในกะโหลกเพิ่มจะปวดตอนกลางคืน
2.2 อาเจียนจะเกิดเมื่อเนื้องอกโตขึ้นและไปกดศูนย์อาเจียนใน medulla
2.3 ขั้วประสาทตาบวม
2.4 ชัก
2.5 วิงเวียนศีรษะ
2.6 สภาวะด้านจิตใจเปลี่ยนแปลง
การรักษา
1.รักษาแบบหายขาด
2.การรักษาแบบประคบัประคอง
พยาธิสรีรภาพ
ภายในกะโหลกศีรษะถูกบรรจุไว้ด้วยเนื้อสมองเลือดและน้ำไขสันหลัง ภายในเนื้อที่อันจำกัดนี้
ผลเฉพาะที่
ผลทั่ว ๆ ไป
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
1.เลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
2.การกำซาบออกซิเจนของเนื้อเยื่อสมองลดลง
3.ปวดศีรษะ
4.วิตกกงัวลเกี่ยวกบัสภาพความเจ็บป่วย
5.ขาดความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวเนื่องจากความจา เสื่อมลง
6.การรับความรู้สึก
7.การติดต่อสื่อสารบกพร่อง
กิจกรรมการพยาบาล
1.การเตรียมทางด้านจิตใจอธิบายวิธีการผ่าตัดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้น
2.การเตรียมร่างกาย ดูแลใหผ้ปู้่วยไดร้ับการตรวจเพื่อการวินิจฉัย
ความหมาย
เนื้องอกในสมองอาจเกิดจากเยื่อหุ้มสมอง เยื่อสมอง อาจเกิดจากหลอดเลือดต่อมต่างๆเป็นเนื้องอกปฐมภูมิหรืออาจจะเป็นเนื้องอกที่ลุกลามมาจากอวัยวะอื่น
นางสาว ธิติมา แสนสี เลขที่70 611001403502