Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะน้ำคร่ำรั่วไปในกระแสเลือดของมารดา amniotic fluid embolism…
ภาวะน้ำคร่ำรั่วไปในกระแสเลือดของมารดา amniotic fluid embolism
การป้องกันและการรักษา
การรักษาและพยาบาล
จัดทำศีรษะสูง*
แก้ไขภาวะช็อค (ให้ IV) ระบบหายใจ ไหลเวียนเลือด และหัวใจล้มเหลว
แก้ไขการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ ให้ fresh blood, whole blood,
packed red cell, plactelets, plasma, ติดตามภาวะ DIC*
รีบ C/S หากทารกยังมีชีวิต
หลังคลอด ให้ oxytocin, methergine
อธิบายให้ครอบครัวเข้าใจ
การป้องกัน
แพทย์ ARM ไม่โดนปากมดลูก
ไม่กระตุ้น UC มากเกินไป และประเมินUC ถี่ขึ้นเมื่อได้รับยากระตุ้น
งด PV +++ เคิดการฉีกขาดขาดเส้นเลือดรก
ไม่เลาะแยกถุงน้ำคร่ำ +++ เส้นเลือดอาจฉีกขาด
ประเมิน V/S อาการแสดง ภายหลังถุงน้ำคร่ำแตก
กรณี DFIU ไม่เจาะถุงน้ำก่อนปากมดลูกเปิดหมต
รกเกาะต่ำ ..- ไม่ตรวจภายใน
สาเหตุ
มักเกิดหลังถุงน้ำแตก เกิดขึ้นรวดเร็ว รุนแรง
อัตราเสียชีวิตทั้งมารตาและทารก 80%
สาเหตุส่งเสริม
UC ถี+รุนแรง
MR
DFIU นานเกิดการเปื่อยยุ่ย หลอดเลือดก็เกิดการฉีกขาด
Abruptio Placenta - เกิดการฉีกขาดของหลอดเลือด
อาการและอาการแสดง
หายใจลำบากเฉียบพลัน,
เขียวทั่วร่างกาย
เจ็บหน้าอก
ไอ และมีเสมหะสีชมพู, หลอดลมตีบ
ซักเกร็ง
ความดันต่ำ
ชีพจรเร็ว
กระสับกระส่าย
ผลกระทบ
ด้านมารดา
หายใจล้มเหลว ตกเลือด ช็อก เสียชีวิต DIC
ด้านลูก
Fetal hypoxia > Bradycardia > Fetal death