Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การปฏิสนธิและพัฒนาการทารกในครรภ์ (การเเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ (เยื่อบุมดลูก…
การปฏิสนธิและพัฒนาการทารกในครรภ์
การปฏิสนธิ
การรวมตัวระหว่าง
Spermatozoa
Sperm ผลิตที่Testes อยู่ได้ 48 ชั่วโมง
ส่วนนหัว นำนิวเคลียสผสมไข่ โดยมมี Acocome
ที่บรรจุเอนไซม์ใช้ย่อยผนังหุ้มไข่
ส่วนคอ ส่วนต่อระหว่างหัวกับสเปิร์ม
ส่วนหาง ใช้เคลื่อนไหว
การเกิดอสุจิ
Primary spermatogonium เป็นะยะแรก ตัวอสุจิไม่เจริญเต็มที่
วัยรุ่น แบ่งตัว 2 ระยะ
-Primary spermatocyte 44XY
-Secondary spermatocyte 22XXหรือ22 XY
ระหว่างแบ่งตัวครั้งที่ 2 ได้อสุจิ 4 ตัว โดยเหลือ 22X หรือ 22Y และพัฒนาเป็นอสุจิที่สมบูรณ์
Oocyte
เซลล์ไข่ มีขนาดใหญ่ที่สุดในร่างกาย
อยู่ได้ 12-24 ชั่วโมง
Zona Radiata ล้อมรอบเซลล์ไข่
Zona Pellucida ผนังเซลล์ไข่
มักเกิดขึ้นบริเวณ Ampula
เมื่ออสุจิเจาะผ่านเซลล์ไข่ได้ Zona pellucida จะมี reaction ผนังเซลล์แข็งแรงขึ้น ทำให้อสุจิตัวอื่นเข้าไม่ได้
Sperm +Ovum ได้ Zygote
(3 วัน) Morula zona pellucida
(6-7 วัน) Blastocyst --> ฝังตัวในมดลูก
Trophoblast
อาหารและรก
Syncytiophoblast สร้างน้ำย่อยทำลายเยื่อบุมดลูก
ทำให้มีเลือดออกแบบ Spoting เรียก
"Implantation bleeding หรือ Hartman's sign"
Cytrophoblast
Inner cell mass
อวัยวะต่างๆ
Ectoderm ระบบประสาท หนังกำพร้า ขน เลนส์ตา จมูก เล็บ ผมต่อมน้ำลาย ต่อมน้ำนม ช่องจมูก ทวารหนัก หูชั้นนอก
Mesoderm ระบบขับถ่ายปัสสาวะ อวัยวะสืบพันธ์ุ กล้ามเนื้อ กระดูก เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ระบบไหลเวียน
Endoderm ช่องทางเดินอาหาร ตบ ปอด ตับอ่อน กระเพาะปัสสาวะ
(12 วัน) ฝังตัวสมบูรณ์
(1-2 วัน) Blasomeres zygote
การเเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ
เยื่อบุมดลูก
Decidua basalis ฐานให้เด็กฝังตัว
Decidua capsularis ถุงหุ้มเด็กชั้นใน
Decidua vera ถุงหุ้มเด็กชั้นนอก
การเกิดรก
เจริญมาจาก Trophoblast
มี 2 ด้าน
-Fetal surface สีเทาอ่อน มัน มี Amnion ปกคลุม
บางใส เหนียว
-Maternal surface สีแดงเข้ม มี Cotyledon 15-20 lobes
-มีเยื่อหุ้ม Chorion ขุ่น ฉีกขาดง่าย ระวัง! ติดข้างในมดลูก จะทำให้เกิดการตกเือด
หน้าที่ของรก
-ให้สารอาหาร
-แลกเปลี่ยนก๊าซ
-ขับถ่าย
-ให้ภูมิคุ้มกัน
-สร้างฮอร์โมน HCG,Estrogen,Progesterone,
Human placenta lactogen
การไหลเวียนเลือด
Umbilical arteries นำเลือดไม่ดีไปแลกเปลี่ยนก๊าซ
Umbilical vein รับเลือดดีกลับสู่ทารก
น้ำหล่อเด็ก(Amniotic fluid)
ลักษณะน้ำคร่ำสีขาวนวลใส ประมาณ 500-1000 ซีซี
ช่วยลดแรงกระทบกระเทือนต่อทารก ททารกเคลื่อนไหวได้อิสระ ปรับสิ่งแวดล้อม อุณหภูมิให้เหมาะสม แรงดันช่วยขยายปากมดลูก
Clear -ปกติ
Mild meconeum strain
Thick meconeum strain
Moderate meconeum strain
สายสะดือ
เป็นส่วนเชื่อมระหว่างทารกกับรก
ประกอบด้วย Vein 1,Artery 2
การเกาะของสายสะดือ
Central insertion
กลางรก
Lateral insertion
ด้านใดด้านหนึ่ง
Marginal insertion
ริมรก
Knot การพันเป็นปม
True/False kont
Jelly false knot
พัฒนาการทารกในครรภ์
1.Preembryonic stage
มีการฝังตัวที่มดลูก 2 สัปดาห์ดาหลังปฏิสนธิ
2.Embryonic stage
ระยะตัวอ่อน ต้องระวัง! สารพิษเป็นพิเศษ
อาจก่อให้กิดความพิการได้
Week 3 - ฟอร์มหัวใจ Neural plate พัฒนาเป็นสมอง ระบบหัวใจทำหน้าที่เป็นระบบแรก**
Week 4 - ตัวอ่อน 4-5 ซม. มีติ่งแขนขา
Week 5 - ตัวอ่อนยาว 22-24 ซม. หัวใหญ่กว่าตัว นิ้วมือ เท้าเห็นชัด ใบหูเริ่มนูน
Week 8 - โครงสร้างส่วนใหญ่สร้างเรียบร้อยแล้ว
3.Fetus
มีความสำคัญต่อพัฒนาการ
8 Week - โครงสร้างภายในมีพัฒนาการแล้ว
12 Week - แยกเพศได้ชัดเจน
-Form nerve cell ในสมองอย่างรวดเร็ว
16 Week - X-Ray พบกระดูก
20 Week - ครรภ์แรก เริ่มรู้สึกลูกดิ้น 18-20 สัปดาห์
-ครรภ์ที่สอง รู้สึกลูกดิ้น 16-18 สัปดาห์
-สามารใช้ Stethoscope ฟังเสียง Fetal heart sound
24 Week - มีพัฒนาการระบบทางเดินหายใจ เริ่มผลิต Surfactant ในปอด
28 Week - พัฒนาการปอดเพียงพอในการแลกเปลี่ยนก๊าซ
-มีปฏิกิริยาต่อเสียง
34 Week -มี Stable surfactant ในปอด
-เกิดรอยย่นบางๆบนฝ่าเท้า
35-36 Week - ขนอ่อนหายเกือบหมด
-Breast areola แบน 1-2 มม.
-Engagment เริ่มมีการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
40 Week- ใบหูตั้งแข็ง อกนูน Mamary gland ยื่น
-Aleola 4 มม.
-หัวไหล่ไม่พบขนอ่อน (lanugo hair)
ทารกครบกำหนด 38-42 สัปดาห์