Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Biophysical profile ; BPP (กลุ่มเสี่ยงที่ควรรับการตรวจ (หญิงตั้งครรภ์อายุค…
Biophysical profile ; BPP
การศึกษา Biophysical Activity ของทารกในครรภ์
แล้วนำมาคิดคะแนนเป็น Fetal biophysical profile scoring ซึ่ง ใช้ประเมินสุขภาพของทารกในครรภ์ได้ละเอียดและแม่นยำกว่าการตรวจด้วย NST หรือ CST
ปัจจัยตัวแปรที่สังเกต
การหายใจของทารก
(Fetal breathing movement = FBM)
ทารกได้รับออกซิเจนจากเลือด การหายใจด้วยปอดจึงเกิดการไหลเวียน
ของนํ้าครํ่า เป็นการเคลื่อนไหวแบบ paradoxical คือ
หายใจเข้า
ทรวงอกจะยุบเข้ากะบังลมจะเลื่อนต่ำ
หายใจออก
ทรวงอกจะขยายด้านข้าง กะบังลมจะเลื่อนขึ้น
ถ้ามีการเคลื่อนไหว หรือสะอึกนานต่อเนื่อง มากว่า 30 วินาที
1 ครั้งขึ้นไปใน 30 นาที ถือว่าปกติ
การเคลื่อนไหวของ ทารกทั้งร่างกาย (Gross body movement = FM)
การเคลื่อนไหวแบบเหยียดงอของแขนขา หรือ กำและคลายมือ (flexion และ deflexion) จะทำได้ยากขึ้นถ้าทารกอยู่ในท่างอตัว ทำให้เห็นการเคลื่อนไหวไม่ค่อยชัด แต่ถ้า tone หายไปจริง เช่น เหยียดแล้วไม่คลาย หรือกำมือแล้วไม่ปล่อย แสดงว่าผิดปกติ
ความตึงตัวของทารก (Fetal tone = FT)
การขยับแขนขาหรือมือ แตะแรงหรือเบา ก็จัดว่าเป็นการเคลื่อนไหวของทารกได้หมด
โดยต้องเห็นอย่างน้อย 3 ครั้งใน 30 นาที
การเคลื่อนไหวของแขนขาและลำตัวพร้อม ๆ กัน
หัวใจทารกตอบสนองเมื่อทารกเคลื่อนไหว (Reactive fetal heart rate)
ระบบประสาทอัตโนมัติทารกยังเจริญเติบโตไม่เต็มที่ หัวใจจะเต้นเร็วขึ้นเมื่อทารกเคลื่อนไหว อัตราการเต้นหัวใจที่เพิ่มขึ้นดังกล่าว แสดงว่าการทดสอบให้ผล reactive นั่นคือทารกมีสุขภาพดี
ถ้า 20 นาทีแรกทารกไม่ดิ้นเลยให้ขยายเวลาตรวจไปเป็น 40 นาที
เพราะทารกอาจหลับได้
ปริมาณน้ำครํ่า (Amniotic fluid volume)
ปริมาณน้ำคร่ำมากผิดปกติหรือครรภ์แฝดน้ำ (polyhydramnios) ซึ่งแอ่งที่ลึกที่สุดมีค่ามากกว่า 8 cm ควรตรวจหาความผิดปกติโดยละเอียด
ของมารดาและทารกในครรภ์
ปริมาณน้ำคร่ำน้อยผิดปกติ (oligohydramnios )
หรือมีแอ่งน้ำคร่ำที่ลึกที่สุดน้อยกว่า 2 เซนติเมตร
มักจะสัมพันธ์กับภาวะทารกโตช้าในครรภ์
บ่งชี้ได้ถึงภาวะเครียดของทารกทำให้สร้างปัสสาวะได้น้อย หรือ อาจเป็นปัจจัยให้เกิดภาวะขาดออกซิเจน
เกณฑ์การให้คะแนน
การหายใจ
ใน 30 นาที การหายใจนาน 30 วินาที
อย่างน้อย 1 ครั้ง
ใน 30 นาที หายใจน้อยกว่า 30 วินาที หรือ
ไม่มีการเคลื่อนไหวแสดงการหายใจ
การเคลื่อนไหวของลำตัวและแขนขา
ใน 30 นาทีเห็นหมุนตัวหรือแขนขา อย่างน้อย 3 ครั้ง (เคลื่อนไหวไปมาจนหยุดนับเป็น 1 ครั้ง)
ใน 30 นาที เคลื่อนไหว 2 ครั้ง หรือน้อยกว่า
การเกร็งตัว (muscle tone)
เห็นแขน ขาหรือลำตัวงอ-เหยียด
หรือเห็นมือแบออกและกำ
ไม่เห็นทารกเคลื่อนไหว
หรือเคลื่อนไหวช้าๆไม่กลับรูปเดิม
อัตราการเต้นของหัวใจ (FHR)
ในเวลา 20 นาที มีอัตราการเต้นของหัวใจเร็วขึ้นมากกว่า 15 ครั้ง/นาที นาน 15 วินาที
เห็นอย่างน้อย 2 ครั้ง
ในเวลา 20-40 มีอัตราการเต้นหัวใจเร็วขึ้น
ไม่ถึง 15 ครั้ง/นาที และ เห็นน้อยกว่า 2 ครั้ง
ปริมาณน้ำครํ่า
เห็นน้ำครํ่ามากกว่า1 ถุง
มีขนาดใหญ่กว่า 2 cm
ไม่เห็นถุงน้ำครํ่าเลยหรือมีขนาดน้อยกว่า 2 cm
การแปลผล
คะแนนเต็ม 10 คะแนน
8-10 คะแนน
ถือว่าปกติ โอกาสที่ทารกตายในครรภ์น้อยทารกคลอดมีชีพ
โอกาสเกิด asphyxia ใน 1 สัปดาห์ น้อยกว่า 1 ใน 1000
ผิดปกติ
4-6 คะแนน
พิจารณาตามปริมาณน้าคร่ำ แต่ต้องตรวจ BPP ซ้ำใน 24 hr
ถ้าน้ำคร่ำน้อย โอกาสเกิด asphyxia สูงขึ้น
ควรเฝ้าดูการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิด
0-2 คะแนน
ถือว่าผิดปกติจะมีโอกาสทารกตายคลอดได้สูงถึง 40 % ควรรีบทำคลอด
สัมพันธ์กับ Asphyxia ทำให้เกิดภาวะเลือดเป็นกรด และเกิดการทำลายของสมองทารก
สัมพันธ์กับการเกิด Mental retardation
การพูดล่าช้า ตาบอด หูหนวก และการเรียนล่าช้า
อาจต้องตรวจอย่างอื่นเพิ่มเติมป้องกันผลบวกลวงจากการตรวจ
กลุ่มเสี่ยงที่ควรรับการตรวจ
หญิงตั้งครรภ์อายุครรภ์มากกว่า 32 สัปดาห์
ตั้งครรภ์แฝด
โรคเบาหวานชนิดที่ 1 เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
ความดันโลหิตสูง
อายุครรภ์เกินกำหนดคลอด
เคยมีประวัติทารกเสียชีวิต
ทารกเคลื่อนไหวน้อยกว่าปกติ หรือการเจริญเติบโตน้อยกว่าปกติ
ปริมาณน้ำคร่ำมากหรือน้อยกว่าปกติ
มีโรคประจำตัวเป็นโรคหัวใจ โรคไทรอยด์ หรือ โรคไต
0 คะแนน ผิดปกติ
2 คะแนน ปกติ