Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดระบบสารสนเทศภายในสถานศึกษาเพื่อการบริหารและการประกันคุณภาพการศึกษาขอ…
การจัดระบบสารสนเทศภายในสถานศึกษาเพื่อการบริหารและการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
บทนำ
กระทรวงศึกษาธิการได้ออกกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการ ประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 โดยได้ระบุให้มี การจัดระบบบริหารและสารสนเทศไว้เป็น 1 ใน 8 ประการของหลักเกณฑ์ และ แนวปฏิบัติของการดำเนินการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานแล้วนั้น
ความสำคัญของการบริหารสถานศึกษา
ระบบการบริหารสถานศึกษา หมายถึงหมายถึง กิจกรรมที่จำเป็นต่อการธำรงรักษา และ ดำเนินการภายในสถานศึกษาเพื่อให้ บรรลุจุดประสงค์ของสถานศึกษา
การบริหารงานนั้นจะต้องใช้ศาสตร์และศิลป์ : การดำเนินงานต่างๆ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม แต่นผู้บริหารที่จะนำเอาเทคนิควิธีและ กระบวนการบริหารที่เหมาะสมมาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพ
หลักการบริหารสถานศึกษา
3) การกระจายอำนาจ (Decentralization)
4) ความรับผิดชอบตรวจสอบได้ (Accountability)
2) การมสี่วนร่วม (Participation)
5) ธรรมาภิบาล (Good Governance)
1) ยึดโรงเรียนเป็นศูนยก์ลางในการตัดสินใจ (School-Based Decision)
6) ความเป็นนิติบุคคล (A juristic person)
การบริหารสถานศึกษา
หน้าที่ในการบริหารสถานศึกษา
2) การจัดองค์กร (Organizing) หมายถึง กระบวนการจัดการทรัพยากรต่างๆ และการจัดระบบการดำเนินงาน
1) การวางแผน (Planning) หมายถึง การตัดสินใจล่วงหน้าว่าจะดำเนินการ อย่างไรให้บรรลุและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว
3) การนำ (Leading) หมายถึง การอำนวยการและการประสานงาน
4) การควบคุม (Controlling) หมายถึง การก ากับให้การดำเนินงานและ กิจกรรม ต่างๆ
ภารกิจในการบริหารสถานศึกษา
กระทรวงกระจายอำนาจการบริหาร และการจัดการศึกษาไปยังคณะกรรมการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาโดยตรง
งบประมาณ
การบริหารงานบุคคล
ด้านวิชาการ
การบริหารทั่วไป
กระบวนการการบริหารคุณภาพภายในสถานศึกษา
2) กระบวนการบริหารโดยใช้โรงเรยีนเป็นฐาน (SBM)
3) กระบวนการบริหารอื่น ๆ ที่โรงเรียนนำมาใช้ เช่น PMQA, TQM, RMB เป็นต้น
1) กระบวนการ (PDCA)
การจัดโครงสร้างระบบบริหารงานที่เอิ้อต่อการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ภารกิจในการบริหารสถานศึกษา
กระทรวงกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา ทั้งด้านการบริหารงานวิชาการ การบริหารงบประมาณ การบริหารงานบุคคล และ การบริหารงานทั่วไป
โดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์วางแผน กำหนดเป้าหมาย ความสำเร็จอย่างชัดเจน
ความสัมพันธ์ระหว่างระบบบริหารและ สารสนเทศกับระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
โดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์วางแผน กำหนดเป้าหมาย ความสำเร็จอย่างชัดเจน
ระบบสารสนเทศในสถานศึกษา
ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงต่างๆ ซึ่งอาจแสดงเป็นตัวเลข ตัวหนังสือ หรือ สัญลักษณ์ ข้อเท็จจริงเหล่านี้เป็นสิ่งที่เก็บรวบรวมมาโดยยังไม่ผ่านการประมวลผลหรือการ วิเคราะห์จัดกระทำ
สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผลหรือการวเิคราะห์ ด้วยวิธีการต่างๆ จนอยู่ในรูปแบบที่มีความหมาย
ระบบสารสนเทศ (Information System) หมายถึง กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล การประมวลผลให้อยู่ในรูปสารสนเทศที่เป็นประโยชน์สูงสุดและการจัดเก็บรักษาอย่างมีระบบ
การจัดระบบสารสนเทศ จะมีขั้นตอนการดำเนินงานหลักๆ 5 ขั้นตอน
การประมวลผลข้อมูล
การนำเสนอข้อมูลและสารสนเทศ
การตรวจสอบข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศ
การรวบรวมข้อมูล
การจัดระบบสารสนเทศ มีวิธีดำ
เนินการออกเป็น 3 ระบบ
2) ระบบกึ่งอัตโนมัติ (Semi – Automation) ใช้มือทำส่วนหนึ่ง และใช้เครื่องกลส่วนหนึ่ง
3) ระบบอัตโนมัติ (Full – Automation) ต้องมีการออกแบบให้เข้ากับลักษณะงาน
1) ระบบทำด้วยมือ (Manual System)เป็นระบบที่เก็บโดยการใช้เอกสารในรูปแบบต่าง
องค์ประกอบของระบบบริหารภายในสถานศึกษา
ผลผลิต (Output) เป็นสิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นตามวัตถุประสงค์ของระบบ ได้แก่ นักเรียนที่จบการศึกษามีความรู้ครบถ้วนตามหลักสูตร ความพึงพอใจของนักเรียน ผู้ปกครองและครูเป็นต้น
ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) เป็นส่วนที่ใช้ควบคุมการทำงานของระบบให้เป็นไป ตามวัตถุประสงค์รวมถึงชี้ให้เห็นข้อดีและข้อบกพร่องของปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต ซึ่งจะนำไปสู่การปรับปรุงเพื่อให้ได้มาซึ่งคุณภาพตามต้องการ
กระบวนการ (Process) เป็นการทำหน้าที่แปรสภาพทรัพยากรหรือประมวลผลให้ เป็นผลผลิต
สภาพแวดล้อม (Environment) เป็นสภาพทั่วไปของบริบทที่อยู่ล้อมรอบระบบ หรือองค์การ ได้แก่ ที่ตั้ง ชุมชน ผู้ปกครอง บรรยากาศขององค์การเป็นต้น
ปัจจัยนำเข้า (Input) เป็นทรัพยากรหรือสิ่งที่จำเป็นเพื่อนำไปสู่ระบบและก่อให้เกิด การทำงาน ได้แก่ นักเรียน ครู อาจารย์ วัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ อาคารสถานที่ เทคโนโลยหีลักสูตรสถานศึกษา เป็นต้น
การกำหนดผู้รับผิดชอบและจัดระบบสารสนเทศ
การจัดระบบบริหารและสารสนเทศที่เอื้อต่อการพัฒนา ระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
3.ให้การสนับสนุนบุคลากรในสถานศึกษาให้ได้รับการอบรมพัฒนาทักษะด้านการใช้ นวัตกรรมและเทคโนโลยขี้อมูลสารสนเทศ
4.ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของข้อมูลสารสนเทศ
2) จัดให้มีระบบติดตามการปฏิบัติงาน
1) คัดเลือกบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถในด้านการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี ข้อมูลสารสนเทศ
5) สนับสนุนให้บุคลากรในสถานศึกษาทุกคนมีความรู้และสามารถสืบค้นข้อมูล สารสนเทศที่ทางสถานศึกษาจัดทำขึ้นได้ด้วยตนเอง
การจัดระบบสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่
รูปแบบที่ 2 จัดระบบเพื่อเตรียมพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
2) ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีย้อนหลังอย่างน้อย 3 ปี ติดต่อกัน
3) ผลการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาย้อนหลังอย่างน้อย 3 ปี ติดต่อกัน
1) ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
รูปแบบที่ 3 จัดระบบตามลักษณะข้อมูลสารสนเทศที่จำเป็นเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
3) ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารงานวิชาการ
4) ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
2) ข้อมูลสารสนเทศที่เก่ียวข้องกับผู้เรียน
5) ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการรายงาน
1) ข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานของสถานศึกษา
รูปแบบที่ 1 จัดระบบตามลักษณะข้อมูล
2) ข้อมูลสารสนเทศที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร สถานศึกษา
3) ข้อมูลสารสนเทศที่เกิดจากการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปี
1) ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา
รูปแบบที่ 4 จัดระบบตามภารกิจการบริหารและการจัดการศึกษาของ สถานศึกษาและบุคลากร
2) งานบุคลากร
3) งานงบประมาณ
1) งานวิชาการ
4) งานบริหารทั่วไป
การนำข้อมูลสารสนเทศไปใช้ประโยชน์
การใช้ประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีในการจัดการระบบสารสนเทศในสถานศึกษาใน รูปของโปรแกรมประยุกต์
B-OBEC Building เป็นโปรแกรมเพื่อบันทึกประมวลผลและรายงานขอ้มูลสิ่งก่อสร้างราย โรงเรียน โดยให้โรงเรียนหรือสำนักงานเขตพื้นที่ารศึกษาเป็นผู้บันทกึ ข้อมูล ปรับปรุงข้อมูลทุกปีงบประมาณ Data on web เป็นการรายงาน ข้อมูลจำนวนนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนผ่านเว็บไซต์ของ สพฐ.
P-OBEC Personal เป็นโปรแกรมเพื่อบันทึกประมวลผลและรายงานข้อมูลเกี่ยวกับบุคลากรในสำนักงานเขตพน้ืที่การศึกษากลุ่มบริหารงานบุคคล สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็นผู้บันทึกข้อมูล
ระบบ
M-OBEC Matenal เป็นโปรแกรมเพื่อบันทึกประมวลผลและรายงานข้อมูลครุภัณฑ์รายโรงเรียน
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) เป็นระบบที่นำเอาระบบแผนที่กราฟฟิก (Geographic) มาทำงานร่วมกับ ฐานข้อมูล (Database) ที่มีความสามารถในการจัดเก็บ แก้ไข ปรับปรุง สืบค้น จัดการวิเคราะห์ แสดงผลและรายงานผลข้อมูลเชิงพื้นที
SMIS เป็นโปรแกรมระบบบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานของสถานศึกษา (School Management Information System : SMIS) พัฒนาขึ้น
e-office ด้านงานธรุการ การบริหารงานการเงินใช้โปรแกรมต้นทุนผลผลิต
O-BEC เป็นโปรแกรมเพื่อการจัดเก็บบันทึกประมวลผลและรายงานข้อมูล สารสนเทศทางการศึกษา ณ วันที่ 10 มิถุนายน ของทุกปี เน้นการจัดเก็บ ข้อมูลที่เป็นความต้องการในการบริหารจัดการศึกษา
Student 44 การบริหารงานวิชาการในด้านงานทะเบียนและวัดผลซึ่งข้อมูลสารสนเทศที่จัดทำขึ้นจะต้องนำไปใช้ในการใช้บริการหน่วยงานอื่น
การใช้ประโยชน์จากระบบข้อมูลสารสนเทศทั่วไป
การใช้ประโยชน์จากระบบข้อมูลสารสนเทศทั่วไป
ด้านครู
แผน/โครงการ/กิจกรรมด้านบุคลากร /ด้านวิชาการ / ด้านงบประมาณ / ด้านบริหารทั่วไป
ด้านผู้บริหาร
การวางแผนทางการศึกษา/ การประกันคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพ ภายนอก / งานความสัมพันธ์ชุมชนการนิเทศติดตามผล รายงานประจ าปี เป็นต้น
ด้านผู้เรียน
การจัดตั้งการจัดสรรงบประมาณเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนการวางแผนทางการศึกษา / การประกันคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายนอก/การพัฒนาผู้เรียน การพัฒนาการเรียนการสอน /การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง/การจัดทำผลงานทางวิชาการ เป็นต้น
การใช้ประโยชน์จากระบบข้อมูลสารสนเทศตามภารกิจการบริหารและ การจัดการศึกษาของสถานศึกษา
งานบริหารบุคคล
แผน/โครงการ/กิจกรรมด้านบุคลากร /ด้านวิชาการ / ด้านงบประมาณ / ด้านบริหารทั่วไป
งบประมาณ
แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมด้านงบประมาณ การจัดตั้งจัดตั้งงบประมาณของงาน 4 งาน / การนิเทศติดตามผล การประกันคุณภาพภายใน / การประเมินคุณภาพภายนอก การบริหารจัดการศึกษา
งานด้านวิชาการ
การจัดทำผลงานทางวิชาการ
งานบริหารทั่วไป
การจัดทำแผน/โครงการ / กิจกรรม ด้านบริหารทั่วไป / งานด้านวิชาการ
นางสาวน้ำทิพย์ ยอดช้าง 60204091 Sec.7