Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดระบบสารสนเทศภายในสถานศึกษาเพื่อการบริหารและการประกันคุณภาพการศึกษาขอ…
การจัดระบบสารสนเทศภายในสถานศึกษาเพื่อการบริหารและการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
บทนำ
แนวคิดใหม่ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพื่อการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและเรียนรู้และการส่งเสริมและการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา
การพัฒนาครูยุคใหม่ โครงการครูพันธุ์ใหม่ด้วยกระบวนการผลิตการอบรมครู ประจำการให้มีความพร้อมมากยิ่งขึ้นให้มีจิตวิญญาณแห่งความเป็นครูและเป็นวชิาชีพชั้นสูง
การพัฒนาสถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ โดยสถานศึกษา ทุกระดับและทุกประเภทต้องได้รับการพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพ และพัฒนาแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ
การพัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ เด็กไทยและคนไทยในอนาคตเป็นคนเก่ง ดี มีความสุข ดำรงรักษาความเป็นไทยและรู้เท่าทันกับสถานการณ์ของโลก
การพัฒนาการบริหารจัดการใหม่ที่มุ่งเน้นเรื่องการกระจายอำนาจ
ความสำคัญของการบริหารสถานศึกษา
ระบบการบริหารสถานศึกษา
กิจกรรมทั้งมวลที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาและดำเนินการภายในสถานศึกษาเพื่อให้บรรลุจุดประสงค์ของสถานศึกษา
การบริหารงานนั้นจะต้องใช้ศาสตร์และศิลป์
การดำเนินงานต่างๆ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อให้งานประสบผลสำเร็จ
หลักการบริหารสถานศึกษา
การกระจายอำนาจ (Decentralization)
กระจายอำนาจด้านการบริหาร จัดการ ด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารบุคคล และการบริหารทั่วไป ให้คณะกรรมการ เขตพี้นที่การศึกษาและคณะกรรมการสถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบ
ความรับผิดชอบตรวจสอบได้ (Accountability)
มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ และภารกิจของผู้รับผิดชอบเพื่อเป็นหลักประกันคุณภาพการศึกษาให้เกิดขึ้น
การมีส่วนร่วม (Participation)
กำหนดให้บุคคลหลายฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาในการจัดการศึกษาเข้ามามีส่วนร่วมเป็นคณะกรรมการร่วมแสดงความคิดเห็นหรือร่วมกำกับ ติดตามดูแล
ธรรมาภิบาล (Good Governance)
เป็นหลักคิดสำหรับการบริหารจัดการที่ดีเพื่อประกันว่าในองค์การจะไม่มีการฉ้อราษฎร์บังหลวง ไม่ด้อยประสิทธภิาพ
ยึดโรงเรียนเป็นศูนย์กลางในการตัดสินใจ (School-Based Decision)
ให้โรงเรียนมีอิสระในการตัดสินใจด้วยตนเองโดยยึดประโยชน์ที่จะเกิดกับผู้เรียนเป็นสำคัญ
ความเป็นนิติบุคคล (A juristic person)
เป็นการให้สิทธิและอำนาจหน้าที่ที่กำหนดไว้เป็นของตนเอง
การบริหารสถานศึกษา
หน้าที่ในการบริหารสถานศึกษา
การจัดองค์กร (Organizing
กระบวนการจัดการทรัพยากรต่างๆ และการจัดระบบการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ
การนำ (Leading)
การอำนวยการและการประสานงาน
การวางแผน (Planning)
การตัดสินใจล่วงหน้าว่าจะดำเนินการ อย่างไรให้บรรลุและวัตถุประสงคท์ที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
การควบคุม (Controlling)
การกำกับให้การดำเนินงานและกิจกรรมต่างๆ
ภารกิจในการบริหารสถานศึกษา
งบประมาณ
การบริหารงานบุคคล
ด้านวิชาการ
การบริหารทั่วไป
กระบวนการการบริหารคุณภาพภายในสถานศึกษา
กระบวนการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (SBM)
กระบวนการบริหารอื่น ๆ ที่โรงเรียนนำมาใช้ตามความแตกต่างของโรงเรียน
กระบวนการ (PDCA)
การดำเนินการตามแผนและระบบการปฏิบัติงาน (Do)
การตรวจสอบและประเมินผล (Check)
การวางแผนและระบบการปฏิบัติงาน (Plan)
การปรับปรุงและพัฒนา (Action)
การจัดโครงสร้างระบบบริหารงานที่เอื้อต่อการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ความสัมพันธ์ระหว่างระบบบริหารและสารสนเทศกับระบบการประกัน คุณภาพภายในของสถานศึกษา
มีระบบการบริหารและการจัดการศึกษาที่นำไปสู่คุณภาพของผู้เรียน
ระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพเป็นระบบ ถูกต้อง สมบูรณ์ เป็นปัจจุบัน เรียกใช้ข้อมูลสารสนเทศได้ตลอดเวลา
ภารกิจในการบริหารสถานศึกษา
การกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา
การบริหารงานในด้านต่างๆไปยังเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาโดยตรง
ระบบสารสนเทศในสถานศึกษา
ความหมายของคำที่เกี่ยวข้องกับการจัดระบบสารสนเทศในสถานศึกษา
สารสนเทศ (Information)
ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผลหรือการวเิคราะห์ด้วยวิธีการต่างๆ จนอยู่ในรูปแบบที่มีความหมาย สามารถนำไปใช้ประกอบการตัดสินใจหรือนำไปใช้ในเรื่องต่างๆ ได้ตามวัตถุประสงค์
การเปรียบเทียบผลการดำเนินงานตั้งแต่เริ่มดำเนินการ
การจัดเรียงลำดับคะแนนของนักเรียน
อัตราส่วนครูต่อนักเรียน
ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการเรียนตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป
ระบบสารสนเทศ (Information System)
กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล การประมวลผลให้อยู่ในรูปสารสนเทศที่เป็นประโยชน์สูงสุดและการจัดเก็บรักษาอย่างมีระบบ
ข้อมูล (Data)
ข้อเท็จจริงต่างๆ ซึ่งอาจแสดงเป็นตัวเลข ตัวหนังสือ หรือ สัญลักษณ์ ข้อเท็จจริงเหล่านี้เป็นสิ่งที่เก็บรวบรวมมาโดยยังไม่ผ่านการประมวลผลหรือการวิเคราะห์จัดกระทำ
จำนวนนักเรียน
น้ำหนัก ส่วนสูง
จำนวนห้องเรียน
เกรดเฉลี่ย
ขั้นตอนการดำเนินงาน
การตรวจสอบข้อมูล
ก่อนที่จะนำไปประมวลผลควรมีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลก่อน
การนำเสนอข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลหรือจัดทำเป็นสารสนเทศที่มีความหมายชัดเจน มีความกะทัดรัด ตรงกับความต้องการและสะดวกต่อการนำไปใช้
การรวบรวมข้อมูล
กำหนดรายการข้อมูลที่ต้องการ กำหนดวิธีการจัดเก็บ สร้างหรือจัดหาเครื่องมือในการจัดเก็บให้สอดคล้องกับลักษณะของข้อมูลและแหล่งข้อมูล
กำหนดวิธีการรวบรวมข้อมูลด้วยการสอบถาม
เครื่องมือที่ใช้ควรเป็นแบบสอบถาม,สังเกต
การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศ
จัดเก็บทั้งส่วนที่เป็นข้อมูลและส่วนที่เป็นสารสนเทศไว้ในสื่อต่างๆ อย่างมีระบบ สะดวกต่อการค้นหาเพื่อนำมาใช้ประโยชน์
การประมวลผลข้อมูล
การเปลี่ยนแปลงขอ้มูลให้อยู่ในรูปแบบที่นำไปใช้ประโยชน์ได้
จำแนกตามวิธีดำเนินการ
ระบบกึ่งอัตโนมัติ (Semi – Automation)
ข้อดีคือค่าใช้จ่ายไม่สูง การฝึกอบรมบุคลากรไม่มากนัก
ข้อเสียคือถ้ารูปแบบเอกสารไม่เหมาะสม การปฏิบัติงานไม่เหมาะสม การดำเนินการจะล่าช้า
ระบบอัตโนมัติ (Full – Automation)
เป็นระบบที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ดำเนินงานระบบนี้ต้องมีการออกแบบให้เข้ากับลักษณะงาน
ระบบทำด้วยมือ (Manual System)
ข้อดีคือค่าใช้จ่ายน้อย
ข้อเสียการเรียกใช้ไม่สะดวกและไม่ทันการ
องค์ประกอบของระบบบริหารภายในสถานศึกษา
ผลผลิต (Output)
เป็นสิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นตามวัตถุประสงค์ของระบบ
นักเรียนที่จบการศึกษามีความรู้ครบถ้วนตามหลักสูตร
ความพึงพอใจของนักเรียน ผู้ปกครอง และครู
ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback)
เป็นส่วนที่ใช้ควบคุมการทำงานของระบบให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์รวมถึงชี้ให้เห็นข้อดีและข้อบกพร่องของปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และ ผลผลิต ซึ่งจะนำไปสู่การปรับปรุง
กระบวนการ (Process)
ทำหน้าที่แปรสภาพทรัพยากรหรือประมวลผลให้เป็นผลผลิต
กระบวนการบริหาร
กระบวนการจัดระบบสารสนเทศ
กระบวนการเรียนการสอน
สภาพแวดล้อม (Environment)
สภาพทั่วไปของบริบทที่อยู่ล้อมรอบระบบหรือองคก์าร
ปัจจัยนำเข้า (Input)
เป็นทรัพยากรหรือสิ่งที่จำเป็นเพื่อนำไปสู่ระบบและก่อให้เกิดการทำงาน
วัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ อาคารสถานที่
เทคโนโลยีหลักสูตรสถานศึกษา
ครู อาจารย์
การกำหนดผู้รับผิดชอบและจัดระบบสารสนเทศ
การจัดระบบบริหารและสารสนเทศที่เอื้อต่อการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ให้การสนับสนุนบุคลากรในสถานศึกษาให้ได้รับการอบรมพัฒนาทักษะด้านการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยขี้อมูลสารสนเทศ
ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของข้อมูลสารสนเทศ
คัดเลือกบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ ในด้านการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี ข้อมูลสารสนเทศ
สนับสนุนให้บุคลากรในสถานศึกษาทุกคนมีความรู้และสามารถสืบค้นข้อมูลสารสนเทศที่ทางสถานศึกษาจัดทำขึ้นได้ด้วยตนเอง
จัดให้มีระบบติดตามการปฏิบัติงาน
การจัดระบบสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่
จัดระบบเพื่อเตรียมพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีย้อนหลังอย่างน้อย 3 ปี ติดต่อกัน
ผลการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาย้อนหลังอย่างน้อย 3 ปี ติดต่อกัน
ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา (ผลจากรายงานประจำปีของสถานศึกษายอ้นหลังอย่างน้อย 3 ปีติดต่อกัน)
จัดระบบตามลักษณะข้อมูล
ข้อมูลสารสนเทศที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
ข้อมูลสารสนเทศที่เกิดจากการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปี
ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา
ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา
แนวโน้มในการพัฒนาท้องถิ่น
จัดระบบตามลักษณะข้อมูลสารสนเทศที่จำเป็นเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานของสถานศึกษา
แนวโน้มในการพัฒนาท้องถิ่น
ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา
ข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับผู้เรียน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
คุณลักษณะที่พึงประสงคข์องผู้เรียน
ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารงานวิชาการ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
หลักสูตรสถานศึกษาและการจัดการเรียนการสอน
ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
ทรัพยากรและสิ่งอำนวยความสะดวก
สภาพและบรรยากาศการเรียนรู้
ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการรายงาน
คุณภาพด้านการบริหารจัดการ
ภาพผู้เรียนคุณภาพด้านการจัดการเรียนการสอน
จัดระบบตามภารกิจการบริหารและการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและบุคลากร
งานบุคลากร
แผนงาน/โครงการ/กจิกรรมด้านบุคลากรข้อมูลทุกด้านของครู
งานวิชาการ
แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมด้านวชิาการ การพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา
การพัฒนาการเรียนรู้การวัดและประเมินผล
งานงบประมาณ
การจัดสรรงบประมาณ
การดำเนินงานตามแผนรายงานการเบิก-จ่ายหรือใช้งบประมาณ
งานบริหารทั่วไป
ระบบและเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ
ระบบการบริหารและพัฒนาองคก์ร ข้อมูลเกี่ยวกับอาคารสถานที่ สิ่งอำนวยความสะดวกและสภาพแวดล้อม
การนำข้อมูลสารสนเทศไปใช้ประโยชน์
รูปของโปรแกรมประยุกต์
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS)
นำระบบแผนที่กราฟฟิกมาทำงานร่วมกับฐานข้อมูล
e-office
งานด้านธุรการ
P-OBEC Personal
บันทึกประมวลผลและรายงานข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลากรในสำนักเขตพื้นที่การศึกษา
Student 44
การบริหารงานวิชาการในด้านงานทะเบียนและวัดผล
B-OBEC Building
บันทึกประมวลผลและรายงานข้อมูลสิ่งก่อสร้างรายโรงเรียน
SMIS
ระบบบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานของสถานศึกษา
M-OBEC Matenal
บันทึกประมวลผลและรายงานข้อมูลครุภัณฑ์รายโรงเรียน
O-BEC
จัดเก็บประมวลผลและรายงานผล
การใช้ประโยชน์จากระบบข้อมูลสารสนเทศทั่วไป
ในกรณีที่ประมวลจากการจัดระบบข้อมูลสารสนเทศด้านตัวบุคคลสามารถนำไปใช้ประโยชน์
ด้านผู้เรียน
คุณลกัษณะอันพึงประสงค์
ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ด้านครู
ข้อมูลทุกด้านของครู
ด้านผู้บริหาร
วางแผนทางการศึกษา
ในกรณีที่ประมวลจากการจัดระบบข้อมูลสารสนเทศตามภารกิจการบริหาร และการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
งบประมาณ
จัดตั้งจัดตั้งงบประมาณของงาน
การนิเทศตดิตามผลการประกันคณุภาพภายใน
งานด้านวิชาการ
การจัดตั้งการจัดสรรงบประมาณเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน การวางแผนทางการศึกษา
การประกันคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายนอก
งานบริหารทั่วไป
งานด้านวิชาการ (การจัดสภาพแวดล้อม อาคาร สถานที่ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้) การประกันคณุภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายนอก การนิเทศ ติดตามผลรายงานประจำปี
งานบริหารบุคคล
แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมด้านบุคลากร (การพัฒนาวิชาชีพ การอบรมเพื่อพัฒนา การพัฒนาการจัดการเรียนรู้)
นางสาว ลัดดาวัลย์ โกวัง รหัสนิสิต60204248 สาขาชีววิทยา