Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการบริหารยุคนีโอคลาสิก (NEO–Classical Theory) (วิลเลี่ยม กูซี่…
ทฤษฎีการบริหารยุคนีโอคลาสิก (NEO–Classical Theory)
เอลตัน เมโย (Elton Mayo)
พบว่าวิธีจะเพิ่มประสิทธิภาพใน การทํางาน สามารถทําได้โดยตองทุมเทสนใจปัญหาและความต้องการของมนุษย์ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการทํางาน โดยการทดลองของฮอร์ธอร์น(Hawthone studies)
เป็นผู้วางรากฐานทฤษฎีมนุษยสัมพันธ
องค์ประกอบอื่นๆ
การให้อิสระแก่บุคลากรพยาบาลการจัดให้มี สัมพันธภาพที่ดีต่อกันระหว่างเพื่อนร่วมงาน
การยืดหยุ่นกฎระเบียบในการทํางาน
การปฏิบัติต่อบุคลากรโดยเข้าใจใน ค่านิยม ความเชื่อ อารมณ์ ความรู้สึกของบุคคลให้ทุกคนได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการให้การพยาบาลอย่างมี ประสิทธิภาพ
แมคเกรเกอร์ (Douglas McGregor) เจ้าของทฤษฎีเอ็กซ์และวาย (X and Y theory)
วางหลัก สมมติฐานเกี่ยวกับคนเป็น 2 แนว ตรงกันข้ามกัน
สมมุติฐานทฤษฎีเอกซ์
คนส่วนใหญ่มักไม่มีความพยายามและความรับผิดชอบ
คนส่วนใหญ่ชอบให้มีการชี้นําเพื่อหลีกเลี่ยงความรับผิด ชอบมีความทะเยอทะยานน้อย
บุคคลโดยเฉลี่ยต้องถูกบังคับ ควบคุม สั่งการจึงจะทํางาน
ผู้บริหารการพยาบาลที่เชื่อถือทฤษฎีเอ็กซ
พฤติกรรมผู้นําของผู้บริหาร
ยึดเอาความถูกต้องเป็นสําคัญเขามีแนวโน้มจะใช้เวลาในการบังคับควบคุมกํากับดูแลตรวจสอบและลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นระยะๆ
กฎแห่งเกมส์
คือ กฎหมายและระเบียบที่ออกมาสอดคล้องกับการบริหารตามทฤษฎีเอ็กซ์ สําหรับการบริหารราชการไทย ได้แก่ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน หมวดที่ว่าด้วยวินัยและการรักษาวินัย
มีแนวโน้มที่จะมองผู้ใต้บังคับบัญชาในแง่ลบ
มองว่า ผู้ใต้บังคับบัญชาโดยทั่วไปขี้เกียจและหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบงาน
คนส่วนใหญ่จะขี้เกียจ ไม่ชอบการทํางาน มักเลี่ยงงาน
สมมุติฐานทฤษฎีวาย
คนโดยพื้นฐานมีความคิดริเริ่มด้วยตัวของเขาเอง ถ้าได้รับการจูงใจที่ถูกต้อง
คนทั่วไปโดยพื้นฐานจะพยายามพัฒนาตนเองและ วิธีการทํางานอยู่เสมอ
คนโดยทั่วไปมีความขยันหมั่นเพียรและความรับผิดชอบ
ผู้บริหารการพยาบาลที่เชื่อตามทฤษฎีวาย
มีแนวโน้มที่จะมองผู้ใต้บังคับบัญชาในแง่บวก
มองว่าบุคลากรที่ร่วมงานในการบริหารการพยาบาลมีความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
ควบคุมตนเองได้ ไม่ต้อง ควบคุมบังคับบัญชาและตรวจสอบ ไม่จําเป็นต้องลงโทษ แต่จูงใจให้ทํางาน พฤติกรรมการบริหารโน้มเอียงไปทาง มนุษยศาสตร์และมนุษยสัมพันธ์มากกว่านิติศาสตร
โดยพื้นฐานของคนแล้ว พร้อมที่จะให้ความร่วมมือ สนับสนุน
ชี้ให้เห็นว่า คนเป็นไปได้ทั้ง 2 ทางคือ ดีกับไม่ดี คนดีจะมี 20% คนไม่ดี 80% แต่การที่เขาจะเป็นอย่างไรขึ้นอยู่ที่ตัว ผู้บังคับบัญชาจะมีความเชื่อและปฏิบัติต่อเขาภายใต้ทฤษฎีใด
วิลเลี่ยม กูซี่ (William G. Quchi)
โดยให้แนวคิดว่าการบริหารจะให้ผลดีกว่าถ้าให้ความสําคัญกับการมีส่วน ร่วมของบุคลากรในการตัดสินใจบริหาร (participation of the participants in decision making) นั่นคือให้ความสําคัญกับกลุ่มไม่ใช่ตัวบุคคล แนวคิดของทฤษฎีแซด(Z)
ผู้ปฏิบัติงานต่างก็มีจิตสํานึกที่ดีในด้านความผูกพันทางใจ ความรัก ความสามัคคีอยู่แล้ว
ผู้ปฏิบัติงานสามารถไว้วางใจได้ โดยทํางานไม่บกพร่องผู้บริหารเพียงแต่เอาใจใส่ดูแลสวัสดิภาพและความเป็นอยู่ให้ดีเท่านั้น
ผู้ปฏิบัติงานจะขาดความคุ้นเคยกันเพราะสภาพแวดล้อมของงานที่จัดไว้ ทําให้เกิดช่องว่างของความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกโดยไม่จําเป็น
ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่มุ้งแสวงหาความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดระหว่างกันโดยอยู่ในกรอบของปรัชญาองค์การที่ระบุไว้
วิธีการทํางานแบบกลุ่มคุณภาพ
คุณลักษณะขององค์การ
การควบคุมโดยทางอ้อม
การตัดสินใจเป็นกลุ่มและการร่วมกันรับผิดชอบ โดยการเสี่ยงจะถูกกระทบไปยังสมาชิกทุกคน
การแบ่งงานกันทําไม่แยกชํานาญเฉพาะ
การประเมินผลบุคลากรนานๆครั้ง
การจ้างงานตลอดชีพ
เป็นแนวคิดการบริหารแบบญี่ปุ่นแต่อเมริกาได้นํามาประยุกต์
ผู้บริหารการพยาบาลที่มีความเชื่อตามทฤษฎีนี้
มีส่วนร่วมในการร่วมคิดร่วมทําและแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ทำให้ผู้ใต้บังคับบัญชารู้สึกดีที่มีส่วนร่วม
มักยินยอมให้ผู้ใต้บังคับบัญชาร่วมกันตั้งวัตถุประสงค์ในแต่ละโครงการ ซึ่งมีความหมายตรงกับคําว่า management by objectives หรือ MBO
มีแนวโน้มที่จะยินยอมให้ผู้ใต้บังคับบัญชาหรือผู้ตามได้มีส่วนร่วมคิดพิจารณาและตัดสินใจในการบริหารในแต่ละสถานการณ์
เชสเตอร์ บาร์นาร์ด (Chester I. Barnard. 1938)
บาร์นาร์ดบอกว่า "ความร่วมแรงร่วมใจทําให้เกิดวัตถุประสงค์อันเดียวกัน ความเต็มใจของสมาชิกทําให้เกิดความสําเร็จ"
สิ่งที่สําคัญทที่สุด คือ การติดต่อสือสารเพือความเข้าใจในวัตถุประสงค์ ด้วยการโน้มน้าวจิตใจ
เป็นหนังสือเล่มแรกทีได้นําเสนอทฤษฎี ทีเกียวกับพฤติกรรมการร่วมมือ
ได้รับยกย่องว่า "เป็นบิดาแห่งการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์(Behavior al Science)"
เป็นการจูงใจทางจิตใจมากกว่าการจูงใจทางด้านวัตถุ
เฟรเดริคเฮิร์ซเบิร์ก(Frederick Herzberg)
ให้ความสําคัญกับความต้องการของมนุษย์
โดยแบ่งปัจจัยออกเปน 2 ปัจจัย
ปัจจัยจูงใจ คือ ปัจจัยทีก่อให้เกิดแรงจูงใจให้คนทํางานมีความสุขและมีความคิดสร้างสรรค์ซึงถือว่าเป็น "ปัจจัยภายใน (Intrinsic)"
ปัจจัยค้ำจุน (Hygiene Factors) คือ ปัจจัยทีก่อให้เกิดความพอใจในการทํางานแต่ยังไม่พอทีนําไปใช้ในการจูงใจถือว่าเป็น"ปัจจัยภายนอก (Extrinsic)"
อับราฮัม มาสโลว์ (AbrahamMaslow)
ลําดับขันของความต้องการของมนุษย์
ตามลําดับขันจากตาไปหาสูง
3.ความต้องการทางด้านสังคม
4.ความต้องการทางด้านการยกย่อง
2.ความต้องการทางด้านความปลอดภัย
5.ความต้องการทางด้านความสมหวังในชีวิต
1.ความต้องการทางด้านร่างกาย
3.4