Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลที่มีความผิดปกติทางอารมณ์ (Nursing Care of Clients with…
การพยาบาลบุคคลที่มีความผิดปกติทางอารมณ์
(Nursing Care of Clients with Mood Disorder)
อารมณ์ที่ผิดปกติ
ผู้ป่วยรู้สึกว่ารบกวนจิตใจตนเอง (Distress) อย่างมาก
อาการรบกวนผู้อื่น (Disturb) โดยผู้ป่วยไม่ตระหนักถึงความป่วยของตน
ก่อให้เกิดผลกระทบทางหน้าที่การงาน สูญเสียสมรรถภาพ (disability)
ความผิดปกติทางอารมณ์
ภาวะซึมเศร้า (Depression)
อาการทางด้านต่างๆ
อาการทางกาย (vegetative) เช่น รับประทานไม่ได้ นอนไม่หลับ น้ำหนักลด
พฤติกรรมคำพูด (psychomotor) ผู้ป่วยอายุน้อยมักมีอาการเซื่องซึม เชื่องช้า
ความคิด (cognitive) คิดเรื่องร้าย ๆ มองโลกมองสภาพทุกอย่างในด้านลบไปหมด
ระดับความรุนแรง ของภาวะซึมเศร้า
ภาวะซึมเศร้าชั่วคราว (Transient depression)
ภาวะซึมเศร้าในระดับต่ำ (Mild depression)
ภาวะซึมเศร้าในระดับปานกลาง (Moderate depression)
ภาวะซึมเศร้าในระดับรุนแรง (Severe depression)
ภาวะคุ้มคลั่ง หรือเมเนีย (mania)
ระดับความรุนแรงของภาวะคลุ้มคลั่ง
อารมณ์คลุ้มคลั่งอย่างอ่อน (Hypomania) ผู้ป่วยมักมีอารมณ์ดีร่าเริง
อารมณ์คลุ้มคลั่งอย่างเฉียบพลัน (Acute mania) พูดไม่หยุด
อารมณ์คลุ้มคลั่งรุนแรง (dilirious mania) เป็นระดับที่ผู้ป่วยมีพฤติกรรมแปลก ๆ
การประเมินกายจิตสังคมและจิตวิญญาณ บุคคลที่มีความผิดปกติทางอารมณ์
การประเมินด้านร่างกาย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกายตามระบบ
การทำหน้าที่ของสรีระและความคิดการเคลื่อนไหว
การประเมินด้านจิตสังคม (Psychosocial Assessment)
การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
แหล่งสนับสนุนทางสังคม
แบบแผนการใช้ชีวิตประจำวัน
การเผชิญปัญหาและการแสดงออกทางอารมณ์
การตรวจสุขภาพจิต
การทดสอบทางจิตวิทยา
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางอารมณ์
การให้การพยาบาลทางสิ่งแวดล้อม (Enviromental Intervention)
สัมพันธภาพระหว่างพยาบาลและผู้ป่วย (Nurse-Patient Relationship)
การรักษาทางด้านร่างกาย (Physiological treatment)
การแสดงความรู้สึก (Expressing Feeling)
การช่วยเหลือผู้ป่วยทางด้านความคิด (Cognitive Strategies)
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (Behavioral Change)
ทักษะทางสังคม (Social Skill)
การให้สุขภาพจิตศึกษา
การให้สุขภาพจิตศึกษาสําหรับผู้ป่วยโรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว
ความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว
ให้ความรู้เรื่องสัญญาณเตือนและตัวกระตุ้น
ความร่วมมือในการรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง ตามแผนการรักษา
พัฒนาการจัดการแบบแผนการดำเนินชีวิตประจำวัน
พัฒนาทักษะการเผชิญปัญหาและการจัดการความเครียด
การป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
Coggle BY Athitiya
นางสาวอฑิติยา รูปชัยภูมิ เลขที่ 12 รหัสนักศึกษา 601001483754