Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ (เป้าหมายของการดูแลผู้บาดเจ็บ…
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ
DISASTER paradigm
D – Detection
การประเมินสถานการณ์ว่าเกินกำลังที่เรามี
หรือไม่
I - Incident command
ระบบผู้บัญชาเหตุการณ์ เพื่อสามารถขอความร่วมมือในทุกหน่วยงาน ขยายงาน ยุบงาน
S – Safety and Security
เมื่อไปถึงที่เกิดเหตุต้องคำนึงถึงความปลอดภัยต่อผู้ปฏิบัติงานทุก
คนด้วย และคำนึงถึงความปลอดภัยและป้องกันตนเองรวมทั้งทีมเป็นอันดับแรก จากนั้นจึงค่อยคำนึงถึงการป้องกันชุมชน
A – Assess Hazards
ทำการประเมินที่เกิดเหตุซ้ าๆเพื่อระแวดระวังวัตถุอันตรายต่างๆที่อาจ
เหลือตกค้างในที่เกิดเหตุ
S – Support
การเตรียมการล่วงหน้าเป็นสิ่งสำคัญ เช่น สิ่งจำเป็นพื้นฐานที่ต้องการใช้มีอะไรบ้าง ต้องการกำลังคนแบบไหน หรือต้องการเครื่องมืออะไร เป็นต้น
T – Triage/Treatment
ระบบคัดกรองผู้บาดเจ็บจำนวนมากอย่างรวดเร็วโดยมีลำดับขั้นการปฏิบัติง่ายๆ วิธีนี้สามารถแบ่งผู้ป่วยเป็นกลุ่มๆตามความรีบด่วนในการรักษาดัง ID-me(Immediate, Delayed, Minimal และ Expectant) ได้อย่างรวดเร็ว
E – Evacuation
การอพยพผู้บาดเจ็บระหว่างที่เกิดเหตุ รวมทั้งการอพยพ
หน่วยกู้ภัยเมื่อถึงเวลาจำเป็น
R – Recovery
ช่วงการฟื้นฟูเริ่มต้นทันทีหลังจากเกิดเหตุการณ์ ควรให้ความสนใจกับ
ผลกระทบในระยะยาว
เป้าหมายของการดูแลผู้บาดเจ็บ
ประเมินและแก้ไขภาวะช็อค
ลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นภายหลังบาดเจ็บศีรษะ
ประเมินและช่วยเหลือภาวะบาดเจ็บช่องท้อง
ประเมินและแก้ไขภาวะบาดเจ็บของแขนขา
ประเมินและแก้ไขภาวะบาดเจ็บที่กระดูกสันหลัง
ยับยั้งภาวะตกเลือดทั้งชนิดตกเลือดภายใน (internal bleeding) และตกเลือดภายนอก (external bleeding)
ประเมินและแก้ไขภาวะมีลมในช่องเยื่อหุ้มปอด
ช่วยเหลือและประคับประคองการหายใจ
แก้ไขภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจ
ป้องกันหรือลดความรุนแรงของความพิการที่อาจเกิดจากผลของ
การบาดเจ็บ
จัดให้มีเวชภัณฑ์ที่เหมาะสมสำหรับดูแลรักษา
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเบื้องต้น
1.Primary Assessment
การตรวจหาพยาธิสภาพหรือความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่อาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตในเวลาอันสั้น ซึ่งเมื่อพบต้องรีบแก้ไข(resuscitation) ทันที ขั้นตอนนี้ คือ "ABCs
การตรวจดูเรื่องทางเดินหายใจ (airway with cervical spinecontrol)
การหายใจ (breathing)
ระบบไหลเวียนโลหิต (circulation)
2.Resuscitation
3.Secondary Assessment
การตรวจหาพยาธิสภาพอย่างละเอียด
หลังจากที่ผู้ป่วยพ้น ภาวะวิกฤติแล้ว
4.Definitive care (การรักษา)
เป็นการรักษาผู้ป่วยหลังจากที่ได้ตรวจวินิจฉัยในเบื้องต้นเรียบร้อยแล้ว
เกณฑ์ในการตัดสินใจว่าจะต้องส่งผู้บาดเจ็บมายังหน่วยอุบัติเหตุ
Glasgow coma score ≤13
Systolic blood pressure ≤90 mmHg
Respiratory rate ≤10 or ≥29
Revised trauma score <11
กระบวนการดูแลผู้บาดเจ็บฉุกเฉินจากแนวทางของ
American Trauma Life Support
เตรียมการรับผู้บาดเจ็บ (preparation)
การแบ่งกลุ่มผู้บาดเจ็บ (triage)
การประเมินเบื้องต้น (primary survey)
การกู้ชีวิต (resuscitation)
การประเมินอย่างละเอียด (secondary survey)
การติดตามผู้ป่วยและการประเมินผล (monitoring and evaluation)
การเคลื่อนย้ายไปสู่การรักษาเฉพาะ
CPR 2015
Basic Life Support
C: Chest compression
เริ่มกดหน้าอก 30 ครั้ง
กดเร็ว (อย่างน้อย 100-120 ครั้ง/นาที)
กดลึก (อย่างน้อย 2 นิ้ว หรือ 5 เซนติเมตร ไม่เกิน 2.4 เซนติเมตร หรือ
6 เซนติเมตร)
A: Airway
เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง ด้วยการท า การเชิดหัว-เชยคาง
(head tilt-chin lift) หรือยกกราม (jaw thrust)
B: Breathing
ช่วยหายใจ 2 ครั้ง แล้วเริ่มกดหน้าอกในข้อ1 ต่อ เพื่อให้อัตราการกดหน้าอกต่อการช่วยหายใจ = 30:2การผายปอดแต่ละครั้ง มากกว่า 1 วินาทีและสามารถทำให้หน้าอกยกขึ้นได้ในแต่ละครั้ง
ทำขั้นตอน C-A-B
ไปเรื่อย ๆ จนกว่า เครื่องช็อกไฟฟ้า
(defibrillator) มาถึง
การดูแลทางเดินหายใจในกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหาสำคัญ
ผู้ป่วยที่บาดเจ็บต่อกล่องเสียงและหลอดลมแตก
ควรท า Tracheostomy ต่ำกว่าตำแหน่งที่บาดเจ็บ
ใช้ brochoscope ช่วยในการใส่ endotracheal tube
ผู้ป่วยที่บาดเจ็บต่อใบหน้า
ควรจัดให้นอนตะแคง ยกคางและขากรรไกรขึ้นแล้วจึงใส่
Laryngoscope เพื่อใส่ endotracheal tube
ถ้าทำได้ยากให้เลือกใช้ cricothyroidotomy
หรือ transtracheal jet ventilation
ผู้ป่วยที่สงสัยว่ามีการบาดเจ็บต่อกระดูกสันหลังส่วนคอ
ถ้าผู้ป่วยสวมหมวกกันน็อกไว้ไม่ต้องใสท่อหายใจไม่ต้องถอดหมวกห้าม flex หรือ extendคอผู้ป่วยให้ ถอดหมวกออกตรงๆ
ควรได้รับการป้องกันโดยจัดให้อยู่ในท่าศีรษะตรง ประกบศีรษะ
ด้วยหมอนทรายทั้ง 2 ด้าน
ใส่
cervical collar
การสังเกตอาการผู้บาดเจ็บเมื่อมาถึงหน่วยฉุกเฉิน
สติสัมปชัญญะ
สภาพร่างกายที่ปรากฏ
กลิ่น
สิ่งแวดล้อมที่ตามมากับผู้ป่วย