Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บท9 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระะทางเดินหายใจ (ประเภทของเครื่องช่วยหายใจ…
บท9 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระะทางเดินหายใจ
ประเภทของเครื่องช่วยหายใจ
• Invasive Ventilation หมายถึงการใช้เครื่องช่วยหายใจ ผ่านทาง ท่อเจาะคอ สาหรับผู้ป่วยที่ต้องช่วยหายใจมากกว่า 20ชั่วโมงต่อวัน
ข้อบ่งชี้ในการพิจารณาช่วยหายใจแบบ Invasive Ventilator
•ต้องการ ventilator support > 16 hr/day
•มีเสมหะมากและไม่สามารถควบคุมได้
•ไม่ตอบสนองต่อการหายใจแบบ NIV หรือมีใบหน้าผิดรูป
• Noninvasive ventilator หมายถึง การใช้เครื่องช่วยหายใจผ่าน ทางหน้ากากครอบผู้ป่วย เหมาะกับผู้ป่วยที่ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ เฉพาะเวลากลางคืน หรือต้องการช่วยหายใจน้อยกว่า 12-16 ชั่วโมงต่อ วัน
•มีความบกพร่องในการกลืนและมกีารสาลักอาหารเรื้องรัง ส่งผลให้เป็น pneumonia บ่อยๆ
ข้อบ่งชี้ในการพิจารณาช่วยหายใจแบบ Noninvasive Ventilator
•มีCO2 คั่งในเลือดตอนกลางวันหรือตอนตื่น อย่างน้อย 50มม.ปรอท
•มี CO2 คั่งในเลือดในตอนตื่นหรือตอนนอนเพียงเล็กน้อย 45-50มม. ปรอท แต่มีอาการ เช่น ปวดศีรษะช่วงตื่นนอน นอนกระสับกระส่าย ปัสสาวะรดที่นอน
•หายใจช้าหรือพร่องออกซิเจนในเวลานอน ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ เป็นต้น
ส่วนประกอบทั่วไปของเครื่องช่วยหายใจ
• ส่วนที่ปรับตั้งค่า (Setting)
-ตัวควบคุมความชื้นและอณุหภูมิ (Heated Humidifier) o อุณหภูมิที่เหมาะสมประมาณ 32-34 องศาเซลเซียส ไม่ควรเกนิ 37 องศาเซลเซียส
• ระบบสัญญาณเตอืนอนัตราย (Alarm Setting)
-RR
-TV
-MV
-PIP
• Waveform
หลักการทำงานของเครื่องช่วยหายใจ
ขบวนการของการดันอากาศเข้าปอด โดยอาศัยความดันบวก มีหลักการ เช่นเดียวกับการช่วยหายใจโดยการเป่าปาก คือ เป่าอากาศเข้าไปในปอด ของผู้ป่วยจนปอดขยายตัวได้ระดับหนึ่งแล้วหยุดปล่อยให้อากาศระบายออก
กลไกการช่วยหายใจ
• Trigger mechanism คือ กลไกการควบคุมการจ่าย Gas ใน ระยะเริ่มต้นการหายใจเข้า
• Limit คือ ค่าที่ถูกก าหนดไม่ให้เกินค่าที่ตั้งไว้ในการหายใจเข้า
• Cycling mechanism คือ กลไกที่ใช้ในการหยุดจ่าย Gas ใช้ใน การเปลี่ยนการหายใจเข้าเป็นอ
ระยะการหายใจในเครื่องช่วยหายใจ
ระยะเริ่มหายใจเข้า เกิดได้จากผู้ป่วยกระตุ้นให้เริ่มการหายใจเข้า เรียกว่า “Trigger” ขึ้นอยู่กับประเภทของการช่วยหายใจ
ระยะหายใจเข้าเครื่องช่วยหายใจจะจ ากัดค่าที่ตั้งไว้ไม่ให้เกินกำหนด เรียกว่า “Limit”
ระยะหายใจออก Exhalation valve เปิด กลไกที่เปลี่ยนการ หายใจเข้าเป็นหายใจออกเรียกว่า “Cycle”
ระยะหายใจออก Exhalation valve ไล่อากาศออกจากปอดของ ผู้ป่วยโดยที่ผู้ป่วยไม่ต้องใช้แรง
ระยะสิ้นสดุการหายใจออก “Base line” มีการปิดของ Exhalation valve ท าให้อากาศออกจากปอดไม่ได้ แบ่งเป็น 2 ประเภท
1 Positive End Expiratory Pressure (PEEP) : แรงดันบวกค้างอยู่ในปอดใน ระยะสิ้นสุดการหายใจออก
2.Zero End Expiratory Pressure (ZEEP) : แรงดันอากาศเป็นศูนย์
ชนิดของเครื่องช่วยหายใจ
แบ่งตามการสิ้นสุดของการหายใจ ได้เป็น 4 แบบ ดังนี้
Volume Cycle Ventilator
Pressure Cycle Ventilator
Time Cycle Ventilator
Dual Control
Partial Ventilatory Support (PVS)
• ผู้ป่วยต้องทำงานเองส่วนหนึ่ง
ได้แก่ mode ที่มี spontaneous breath ทั้งหลาย เช่น IMV, SIMV, PSV, CPAP,
• ข้อดี
Less harmful effects of Positive pressure ventilator
Prevent RM weakness & atrophy
Prolonged ventilatory support
Weaning technique
Noninvasive ventilation
Decrease (work of breathing; WOB) in intubated pts
• Indications
Respiratory
Infection
1.Bronchitis
เป็น ภาวะหลอดลมฝอยอักเสบ จากเชื้อโรค
อาการ : ไข้ ไอเรื้อรัง เจ็บคอ
การรักษา : พ่นยา ยาปฏิชีวนะ Steroid
2.Empyema
3.Pneumonia
เป็น ภาวะ ที่มีการติดเชื้อในปอด ทำให้เกิดสิ่งคัดหลั่งพัฒนารูปแบบเป็น 3 ระยะ ปัญหาที่พบคือ พื้นที่ในการแลกเปลี่ยน Gas ลดลง
อาการ : ไข้สูง เหงื่อออกมากหลังไข้ ไอ เสมหะมากเหนียวข้น หอบ อ่อนเพลีย
การดูแล : ลดไข้ เพิ่มน้ำให้กับร่างกาย ละลายเสมหะ พักผ่อน ให้ออกซิเจนเพียงพอ
Non-infection
1.Pulmonary embolism
เป็น ภาวะ ลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือดปอด
การพยาบาล :
1.การดูแลการได้รับยาละลายลิ่มเลือด
2.การ Monitor EKG สังเกต VF VT นำไปสู่ Cardiac arrest
การจำกัดกิจกรรมเพื่อป้องกันลิ่มเลือดเคลื่อนตำแหน่งจากที่เดิม
2.COPD
3.Asthma
หอบหืด : เสียงปอด Wheezing
ต้องได้
1.ยาพ่นขยายหลอดลม แบบเป็น Puff ให้พ่นเอง มีแบบผสม steroid ต้องดูแลให้บ้วนปากหลังพ่นยา เพื่อป้องกันการเกิดเชื้อราในช่องปาก
ทำให้ร่างกายอบอุ่นตลอดเวลา
ไม่สัมผัสกับสิ่งกระตุ้นให้อาการกำเริบ
4.Pneumo throrax Hemothrorax
Pneumo Thorax
เป็น ภาวะ ที่มีลมในช่องเยื่อหุ้มปอด
PE : เคาะได้เสียงโปร่ง กลวง
การรักษา : ใส่ ICD
การพยาบาล : ดูแล ICD บริหารปอด
Hemo thorax
เป็น ภาวะ มีเลือดออกในช่องเยื่อหุ้มปอด
PE : เคาะได้เสียงทึบ ไม่กังวาน การสั่นสะเทือนลดลง
การรักษา : ใส่ ICD
การพยาบาล : ดูแล ICD บริหารปอด
5.Flail-chest
เป็น ภาวะ ที่มีกระดูกซี่โครงหัก 3 ซี่ ขึ้นไป ทำให้การเคลื่อนไหวของทรวงอกผิดปกติ เรียกว่า “ อกรวน “ มีอาการเจ็บปวด พร่องออกซิเจนได้ ซี่โครงทิ่มปอด มีลม และเลือดออกได้ หัวใจถูกกดเบียด เกิด Low cardiac output
PE : ทรวงอกผิดรูป
การรักษา : ใส่ ICD ให้ยาบรรเทาปวด ให้ออกซิเจน
การพยาบาล : ดูแล ICD บริหารปอด
6.ARDS
เป็นภาวะ ที่มีน้ำซากเม็กเลือดขาวอยู่ในหลอดเลือดที่ถุงลมเป็นจำนวนมาก เกิดขึ้นหลังการติดเชื้อรุนแรง หรือ ได้รับควัน สารพิษ
การรักษา : การได้รับออกซิเจน การขับน้ำออกจากผนังถุงลม
การพยาบาล : รักษาต้นเหตุ ให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา ให้ยาขับปัสสาวะ เพื่อลดจำนวนน้ำที่ผนังถุงลม ให้ผู้ป่วยสงบ
7.Respiratory Failure
เป็น ภาวะ การหายใจล้มเหลว
1.Oxygenation Failure การแลกเปลี่ยนก๊าซล้มเหลว (หายใจเข้า)
2.Ventilation Failure การระบายอากาศล้มเหลว (หายใจออก) เกิด CO2 คั่ง Hypercapnea
Respiratory Failure 4 รูปแบบ
1.Hypoventilation ทางออกแคบระบายออกได้น้อย
2.Diffusion การซึมซ่านลดลง / การแลกเปลี่ยนได้ลดลง
3.Shunting เลือดดำไหลลัด ไม่เกิดการฟอกที่ปอด
4.V/Q mismatch ออกซิเจน กับ Hb ในเลือด ที่มาแลกเปลี่ยนกันไม่ได้สัดส่วน จึงแลกเปลี่ยนได้ลดลง/ไม่ได้
Respiratory Failure 4 รูปแบบการดูแล
1.Hypoventilation ขยายทางออก โดยพ่นยา ลดบวม
2.Diffusion ลดการบวม โดย steroid ลดน้ำโดยยา
3.Shunting รักษาการไหลลัด
4.V/Q mismatch เติมออกซิเจน กับ ให้เลือดเพิ่ม Hb
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
• ควรมีการประเมินการดูแลผู้ป่วย ดังนี้
ข้อบ่งชี้การใช้เครื่องช่วยหายใจ
การตั้งเครื่องเหมาะสมกับผู้ป่วยหรือไม่
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ความพร้อมก่อนการถอดท่อช่วยหายใจ
การดูแลขณะผู้ป่วยใช้เครื่องเหมาะสมหรือไม่
Nursing Care: ประเมินท่อเครื่องหายใจ
ตำแหน่งของท่อช่วยหายใจ
• ปลายท่ออยู่เหนือ Carina 2 cms.
• ความลึกของท่อช่วยหายใจ (Mark) ที่เท่าไร
• วัด Cuff pressure ทุกเวร ประมาณ 20-25 CmH2O
ดูแลให้ได้รับ O2 เพียงพอ และไม่มีการครั่งของ CO2
• ประเมินสภาพผู้ป่วย
• Check & Record Ventilator Setting
• Suction อย่างถูกวิธี
• ดูแล ET-Tube ให้อยู่ในตำแหน่ง ไม่เลื่อนหลุด
• Monitor V/S, O2sat Keep O2 sat ≥95%
• Monitor VT, MV, PIP
• สังเกตลักษณะ สี กลิ่น ปริมาณของเสมหะ
• ติดตามและประเมินค่า ABG
• ประเมินสภาพปอดโดยการฟัง Stethoscpoe
• ดูแลเครื่องช่วยหายใจให้ทำงานอย่างมี ประสิทธิภาพ
• เช็คระดับน้ำใน Humidifier
• เช็คน้ำใน curcuit • เปลี่ยน circuit เมื่อครบกา หนดเวลา
• ประเมินสภาพและป้องกันการติดเชื้อของ ทางเดินหายใจ (VAP)
• สังเกตลักษณะสีกลิ่นของเสมหะ เก็บเสมหะส่ง เพาะเชื้อและ ติดตามผล
• ติดตามผล Chest X-ray
ดูแลความเจ็บปวดทุกข์ทรมานและไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
•ดูแล Mouth care อย่างถูกวิธี
•ป้องกัน Tissue necrosis โดยใช้ Minimal leak technique
•ระวังการดึงรั้ง •ป้องกันการดึงท่อ โดยประเมินความเสี่ยงที่ผู้ป่วย จะดึงท่อ อาจต้องมีการ Restrain
•ป้องกันแก้ไขอาการบาดเจ็บของทางเดินหายใจ
•ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
•ป้องกันการดึงท่อโดยการผูกมัดอย่างระมัดระวัง
• ประเมินความสามารถของผู้ป่วยที่ใช้ในการ สื่อสาร
• หาวิธีการสื่อสารแทนคำพูด
• หมั่นเยี่ยมและไต่ถามความต้องการของผู้ป่วย
• ใช้คำพูดง่ายๆ สั้นๆ ในการสื่อสาร
• อธิบายให้ผู้ป่วย และญาติเข้าใจถึงความลำบาก ในการสื่อสาร
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจป้องกันTrachea injury
• ดูดเสมหะด้วยความนุ่มนวล
• วัด cuff pressure อย่างน้อยเวรละ 1 ครั้ง
• Set ventilator ความดันบวกที่เหมาะสม
• ให้สารน้ าตามแผนการรักษา
• นอนยกเท้าสูง 20 – 300
• เช็ค Tidal volume, เช็คการท างานเครื่องช่วยหายใจ
• Monitor EKG, vital signs
• ดูดเสมหะให้ถูกต้อง