Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยเหลือพยาบาลวิชาชีพในการดูแลบุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหากา…
การช่วยเหลือพยาบาลวิชาชีพในการดูแลบุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะ
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับถ่ายปัสสาวะ
ปริมาณน้าที่สูญเสียออกจากร่างกาย ผู้ที่มีการสูญเสียน้าออกจากร่างกายที่นอกเหนือจากการสูญเสียน้าทางปัสสาวะ
พยาธิสภาพของโรค การเจ็บป่วยด้วยโรคต่าง ๆ ส่งผลต่อการขับถ่ายปัสสาวะ
ปริมาณสารน้าที่รับเข้าสู่ร่างกาย ขณะที่ร่างกายอยู่ในภาวะสมดุลของสารน้า แล้วได้รับสารน้าเพิ่มเข้าสู่ร่างกายจะทาให้มีการผลิตปัสสาวะเพิ่มขึ้น
การตั้งครรภ์ ระหว่างการตั้งครรภ์มดลูกจะมีขนาดและน้าหนักที่เพิ่มขึ้นแล้วไปกดทับกระเพาะปัสสาวะ ทาให้ปัสสาวะบ่อย
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อที่ช่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ คือ กล้ามเนื้อที่หน้าท้องและกล้ามเนื้อบริเวณอุ้งเชิงกราน ถ้ากล้ามเนื้อทั้ง 2 ส่วนนี้อ่อนแรงลง
การผ่าตัด ร่างกายจะตอบสนองต่อภาวะเครียดจากการผ่าตัด โดยการเพิ่มการหลั่งแอนติไดยูเรติก ฮอร์โมน (antidiuretic hormone)
นิสัยส่วนบุคคล คนส่วนใหญ่จะปัสสาวะได้เฉพาะเวลาที่อยู่ในห้องสุขาที่สะอาดปกปิดมิดชิด เป็นส่วนตัว รวมถึงการมีเวลาปัสสาวะได้โดยไม่ต้องเร่งรีบ
ยา มียาหลายชนิดที่ส่งผลต่อการขับถ่ายปัสสาวะ
2.ปัจจัยด้านอารมณ์ จิตใจ ความวิตกกังวล และความเครียดทาให้มีความรู้สึกปวดปัสสาวะ ปัสสาวะบ่อย และปัสสาวะได้ไม่สุด
การตรวจวินิจฉัย การตรวจวินิจฉัยในระบบทางเดินปัสสาวะชนิดที่ต้องมีการสอดใส่เครื่องมือผ่านเข้าไปในกระเพาะปัสสาวะอาจจะกระทบกระเทือนต่ออวัยวะที่อยู่รอบ ๆ
1.การเติบโตและพัฒนาการ การขับถ่ายได้ดีขึ้นเมื่อเติบโตขึ้นตามวัย จวบจนก้าวเข้าสู่วัยสูงอายุเป็นวัยที่มีการเสื่อมของกล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะ
ฮอร์โมน มีฮอร์โมนหลายชนิดที่มีผลต่อการขับถ่ายปัสสาวะ
ความผิดปกติเกี่ยวกับการขับถ่ายปัสสาวะ
ปัสสาวะน้อย (oliguria)
ไม่มีปัสสาวะ (anuria)
ปัสสาวะมาก (polyuria)
ปัสสาวะตอนกลางคืน (nocturia)
ปัสสาวะลาบาก (dysuria)
ปัสสาวะรด (enuresis)
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ (urinary incontinence)
ปัสสาวะมีเลือดปน (hematuria)
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ (urinary tract infection)
ปัสสาวะมีหนองปน (pyuria)
ถ่ายปัสสาวะไม่ออก (urinary retention)
ปัสสาวะบ่อย (urinary frequency)
การส่งเสริมการทาหน้าที่ของระบบทางเดินปัสสาวะ
ส่งเสริมความแข็งแรงตึงตัวของกล้ามเนื้อบริเวณอุ้งเชิงกรานและกล้ามเนื้อหน้าท้อง
ส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ
ส่งเสริมสุขอนามัย
การจัดหาอุปกรณ์ที่เหมาะสมสาหรับผู้ที่ไม่สามารถลุกเข้าห้องน้าได้เอง
ส่งเสริมให้ได้รับสารน้าอย่างเพียงพอ
การดูแลช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาในการขับถ่ายปัสสาวะ
การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะ
ดูแลให้ปัสสาวะไหลลงถุงรองรับปัสสาวะสะดวกตลอดเวลา ระวังไม่ให้สายบิด หัก พับ งอ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับน้าอย่างน้อยวันละ 3ลิตร
ตวง และบันทึกปริมาณน้าดื่มและปัสสาวะให้ถูกต้อง
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบว่าจะมีความรู้สึกปวดถ่ายปัสสาวะ
ทาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกด้วยน้าและสบู่ อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง
ดูแลให้ชุดสวนปัสสาวะอยู่ในระบบปิด
เทปัสสาวะออกจากถุงรองรับปัสสาวะอย่างน้อยทุก 8 ชั่วโมง
ดูแลให้สายระบายปัสสาวะ
ติดพลาสเตอร์ในตาแหน่งที่ถูกต้อง
แนะนาการปฏิบัติตนขณะคาสายสวนปัสสาวะ
หลีกเลี่ยงการสัมผัสบริเวณรอยต่อของสาย
สังเกตลักษณะ จานวน และ สีปัสสาวะ
ชุดสายระบายปัสสาวะ และถุงรองรับปัสสาวะควรได้รับการเปลี่ยนทุก 30วัน
ผู้ที่เทปัสสาวะออกจากถุงรองรับปัสสาวะ
สังเกตการรั่วซึมของปัสสาวะ
16.ท้องผูก ช่วยเหลือให้ขับถ่ายอุจจาระ
มีการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ
มีเลือดอุดตันในระบบของการระบายปัสสาวะ
ไม่มีปัสสาวะในถุงรองรับปัสสาวะ
สังเกตและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยหลังถอดสายสวนปัสสาวะ
ดูแล และช่วยเหลือให้ผู้ป่วยปัสสาวะได้เองภายใน 8ชั่วโมง
ดูแล และแนะนาให้ดื่มน้าอย่างเพียงพอ อย่างน้อยวันละ 2ลิตร
สอนการบริหารกล้ามเนื้อบริเวณอุ้งเชิงกรานโดยการขมิบก้น
ส่งเสริมสุขอนามัยการทาความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ และไม่กลั้นปัสสาวะ
สอนให้สังเกตอาการของการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
สรุปการขับถ่ายปัสสาวะเป็นการรักษาสมดุลของร่างกายอย่างหนึ่ง หากร่างกายไม่สามารถ ขับถ่ายปัสสาวะออกมาได้เองตามธรรมชาติย่อมส่งต่อระบบต่าง ๆ ภายในร่างกาย และก่อให้เกิด ความผิดปกติขึ้น