Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ (การรักษา (การเคลื่อนย้ายผู้ป่ว…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
สาเหตุของภาวะการหายใจล้มเหลว
ความผิดปกติที่ปอด
1.1 Obstructive pulmonary function เช่น ผู้ป่วยที่มีหอบหืดอย่างรุนแรง โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
1.2 Resteictive pulmonary fuction เช่น ปอดอักเสบ น้ำท่วมปอด
1.3 ความผิดปกติของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงปอด เช่น มี pulmonary embolism
ความผิดปกติของทรวงอกและเยื้อหุ้มปอด เช่น Chest injury การได้รับผ่าตัดช่องทรวงอก
3 ความผิดปกติที่ระบบประสาทส่วนกลาง เช่ฯ ศูนย์ควบคุมการหายใจถูกกด
การรักษา
ให้เนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอโดยมีวิธี คือ 1.1 ให้ออกซิเจนเพื่อแก้ไขภาวะ Hypoxemia 1.2 แก้ไขภาวะอุดกลั้นในหลอดลม
การรักษาโรคหรือสาเหตุที่ทำให้เกิด ภาวะการหายใจล้มเหลว เช่น ในรายที่ปอดอักเสบ ต้องให้ยาปฏิชีวนะ ที่เหมาะสม
การรักษาตามอาการ เช่น การให้อาหารและน้ำอย่างเพียงพอ
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยที่มีปัญหาทางระบบหายใจ
ใส่ท่อช่วยหายใจ
ภาวะความดันโลหิตต่ำ
มีโอกาสเกิดการอุดกลั้นทางเดินหายใจ
ต้องได้รับออกซิเจน
หอบเหนื่อยใช้กล้ามเนื้อบริเวณคอและทรวงอกในการหายใจ
อัตราการหายใจมากกว่า30ครั้งต่อนาที
หยุดหายใจ หรือ หายใจน้อยกว่า8ครั้งต่อนาที หรือ ต้องช่วยหายใจ
ภาวะการหายใจล้มเหลว (Respiratory failure)
การวินิจฉัย
ซึ่งเกณฑ์ที่ใมช้ในการวินิจฉัยจากผลABGมีภาวะหายใจล้มเหลวคือ Pao2น้อยกว่า50-60mm.Hg Paco2 มากกว่า50 mm.Hg PH น้อยกว่า 7.25
การรักษา
ควรได้รับการบริหารด้วยออกซิเจน ระยะเฉียบพลัน Pao2 น้อยกว่า 60 mm.Hg + sao2 น้อยกว่า 90% ระยะเรื้อรังPao2 น้อยกว่า60mm.Hg
ชนิดของภาวะการหายใจล้มเหลว แบ่งได้2ชนิด
การหายใจล้มเหลวอย่างเฉียบพลัน
อาการและการแสดง
เมื่อมีภาวะการหายใจล้มเหลว อาการที่จะพบ จะเป็นการปรับตัวชดเชยของอวัยวะต่างๆ ต่อภาวะHypoxemia
Respiratory system คือ หายใจเร็ว หายใจลำบาก แตในระยะท้ายจะมีการหายใจเบาตื้น ช้าลงจนกระทั่งหยุดหายใจ และมีอาการเขียว
Cardio vascular system ชีพจรเต้นเร็ว ความดัีนโลหิตสูง อาจมีการเต้นของหัวใจผิดจังหวะ
Central Nervous system ระดับความรู้สึกตัวเปลียนไป สับสน ไม่มีสมาธิ กระสับกระส่าย ถ้ามีภาวะ Hypoxemia รุนแรงมากขึ้นผู้ป่วยจะซึมลง
มี Hematologic Effict เม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้น เพื่อเพิ่มออกซิเจนในเลือด ซึ่งต่อมาเลือดจะหนืดมากขึ้น