Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน (หลักการทั่วไปในการให้วัคซีน…
บทที่ 3 การสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน
แบบแผนการให้ภูมิคุ้มกันโรคตามการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค พศ.2563
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การสร้างภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก
การสร้างภูมิคุ้มกันโรคทางตรง
เป็นการกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นมาเอง โดยการให้ antigen หรือวัคซีนเข้าไปในร่างกาย
ภูมิคุ้มกันที่เกิดขึ้นสามารถป้องกันโรคได้เป็นปีๆหรือบางชนิดอาจอยู่ตลอดไป
หัด หัดเยอรมัน คางทูม
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคทางอ้อมหรือด้วยการรับเอา
เป็นการให้สารที่มีภูมิคุ้มกันโรคอยู่แล้ว (Antibody)
เข้าไปในร่างกายโดยตรงและมีประสิทธิภาพในการป้องกันโรคในทันที
ภูมิคุ้มกันโรคประเภทนี้จะอยู่ในร่างกายได้ไม่นาน
ประมาณ 3-4 สัปดาห์เท่านั้นก็จะหมดไป
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันแบบ active
กลุ่มที่ 2 วัคซีนชนิดเชื้อไม่มีชีวิต
เป็นวัคซีนที่ทำมาจากแบคทีเรียหรือไวรัสทั้งตัวที่ทำให้ตายแล้ว
โรคไอกรน/Pertussis
วัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบ/JE ชนิดไม่มีชีวิต
กลุ่มที่ 3 วัคซีนชนิดเชื้อมีชีวิต
เป็นวัคซีนที่ทำจากเชื้อเป็นที่
ยังมีชีวิตอยู่แต่ทำให้ฤทธิ์อ่อนลงแล้ว
ส่วนใหญ่เป็นวัคซีนสำหรับไวรัส
วัคซีนสำหรับแบคทีเรียที่ใช้
วัคซีนป้องกันโรคสุกใส (varicellar vaccine)
วัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบ/JE
ชนิดมีชีวิต และวัคซีน Rota virus
วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดกิน(OPV)
วัคซีนรวมป้องกันโรคหัด
คางทูมและหัดเยอรมัน(MMR)
วัคซีนป้องกันวัณโรค (BCG)
วัคซีนในกลุ่มนี้ เมื่อให้เข้าไปในร่างกายแล้วจะยังไม่มีปฏิกิริยาทันที
จะต้องใช้เวลาหลายวันกว่าจะเริ่มมีปฏิกิริยาเกิดขึ้น
กลุ่มที่ 1 ท๊อกซอยด์ (toxoid)
ใช้ป้องกันโรคที่เกิดขึ้นเป็นผลจากพิษหรือท๊อกซิน ของ
แบคทีเรีย ไม่ได้เกิดจากตัวแบคทีเรียโดยตรง
โรคคอตีบ/Diptheria
โรคบาดทะยัก/Tetanus
คือ
หลังคลอดภูมิคุ้มกันโรคต่อแบคทีเรียจะลดลง
ภูมิคุ้มกันโรคจากเชื้อไวรัสอยู่ได้นานกว่า 6 เดือนหลังคลอด
ทารกขณะอยู่ในครรภ์ได้รับภูมิคุ้มกันโรคโดยผ่านทางรก
วิธีการให้วัคซีน
1.การกิน (oral route)
ใช้ในกรณีที่ต้องการกระตุ้นภูมิคุ้มกันเฉพาะที่
วัคซีนป้องกันโรคไข้ทัยฟอยด์ชนิดกิน
วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ
การฉีดเข้าในหนัง (intradermal)
มักจะใช้เมื่อต้องการลดจำนวน antigen ให้น้อยลง
3.การฉีดเข้าใต้หนัง (subcutaneous route)
มักจะใช้กับวัคซีนที่ไม่ต้องการให้ดูดซึมเร็วเกินไป
วัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบ(JE)
วัคซีนป้องกันโรคไข้ทัยฟอยด์
วัคซีนรวมป้องกันโรคหัด คาง ทูม และหัดเยอรมัน
4.การฉีดเข้ากล้ามเนื้อ (intramuscular route)
ปัจจุบันไม่แนะนำให้ฉีดบริเวณสะโพก เพราะอาจเกิด อันตรายต่อเส้นประสาทไซเอติค (sciatic nerve)การดูดซึมต่ำ
วัคซีนที่มี adjuvant ควรฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
การฉีดเข้ากล้ามเนื้อจะให้ได้ผลดี ควรฉีดบริเวณต้นแขน เพราะการดูดซึมดีที่สุด
การให้คำแนะนำในการให้ภูมิคุ้มกันโรคและวัคซีนเผื่อเลือก
วัคซีนอีสุกอีใส varicella vaccine
เป็นวัคซีนผลิตจากเชื้อไวรัสมีชีวิตที่ชื่อว่า
Varicella Zoster Virus: VZV
วัคซีนชนิดนี้เป็นวัคซีนเชื้อเป็นจึงต้องระวัง
การให้ในผู้ที่มีภูมิต้านทานต่ำ
เมื่อฉีดวัคซีนครบ 2 เข็มพบว่าร้อยละ 99
ของผู้รับจะเกิดภูมิต้านทานต่อโรค
วัคซีนทางเลือก (optional vaccine) เป็นวัคซีนที่
ไม่อยู่ในตารางวัคซีนปกติของกระทรวงสาธารณสุข
ผลข้างเคียงจากการฉีดวัคซีนอีสุกอีใส
บวมแดง
ขึ้นผื่น คัน
มีอาการปวด
มีไข้ต่ำ
การบริหารวัคซีนและการจัดเก็บวัคซีน
OPV เก็บในช่องแช่แข็ง (Freezer)
วัคซีน MMR/MR, BCG และ JE
ผงแห้งเก็บที่อุณหภูมิ 2-8 องศา
ห้ามเก็บวัคซีนที่ฝาประตูตู้เย็น
ต้องใส่วัคซีนไว้ในกล่องพลาสติกเพื่อป้องกันการสูญเสียความเย็น
โดยทั่วไปจะเก็บที่อุณหภูมิ 2-8 องศา
หลักการทั่วไปในการให้วัคซีน
ทารกที่คลอดก่อนกำหนด ควรให้วัคซีนเหมือนเด็กที่เกิดครบกำหนด
เด็กที่มีประวัติครอบครัวเป็นโรคชัก สามารถให้วัคซีนได้
ผู้ที่ได้รับอิมมูโนโกลบุลิน พลาสม่า หรือเลือด
มาไม่ถึง 3 เดือน ไม่ควรให้วัคซีนไวรัสที่มีชีวิต
เด็กที่ได้ยากดภูมิคุ้มกันสามารถให้ท๊อกซอยด์ และวัคซีนชนิดเชื้อไม่มีชีวิตได้
ผู้ที่เจ็บป่วยเล็กน้อย เช่น หวัด ไอ หรือไข้ต่างๆสามารถให้วัคซีนได้
การให้วัคซีนห่างเกินกว่ากำหนดไม่ได้ทำให้ภูมิคุ้มกันเกิดน้อยลง
วัคซีนหลายชนิดอาจให้พร้อมกันในวันเดียวกันได้แต่ควรให้ต่างตำแหน่ง
วัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบ เจอี(Japanese Encephalitis)
เป็นวัคซีนเชื้อเป็น (Live JE.vaccine) ฉีด 2 ครั้ง พร้อม MMR
ครั้งที่ 2 ตอนเด็กอายุ 2-2 1⁄2 ปี
ครั้งที่ 1 เมื่อเด็กอายุ 9-12 เดือน
วัคซีนโรต้า(Rota virus)
โดยจะให้ทั้งหมด 3 ครั้ง ในช่วงอายุ 2 4 6 เดือน มีข้อกำหนดว่า ครั้งแรกต้องให้ในเด็กอายุไม่เกิน 15 สัปดาห์ และครั้งที่ 2 และ3 เด็กต้องอายุไม่เกิน 32 สัปดาห์
วัคซีนป้องกันการติดเชื้อทางเดินอาหารที่รุนแรงในเด็ก
วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน (Diptheria Tetanus Pertussive Vaccine : DTP)
DTwP เป็นวัคซีนคอตีบ บาดทะยัก และวัคซีนไอกรน
แบบทั้งเซล Whole cell Pertussis vaccine
DTaP เป็นวัคซีนคอตีบ บาดทะยัก และวัคซีนไอกรน
แบบไร้เซล Acellular pertussis vaccine
จะให้ในช่วงอายุ 2 เดือน, 4 เดือน และ 6 เดือนเดือน และฉีดกระตุ้น (Booster immunization) อีก 2 เข็มคือ 11⁄2 ปี และ4-6 ปี โดยการฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
วันได้และพบว่าหลังฉีดอาจมีปฏิกิริยาเฉพาะที่เกิดขึ้นได้
คือปวด บวม แดง ร้อนในตำแหน่งที่ฉีดได้
วัคซีน HIB Haemophilus influenza type B
วัคซีนพื้นฐาน เข็มเดียวป้องกันได้ 5 โรค คอตีบ
บาดทะยัก ไอกรน ตับอักเสบบี และเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
(DTwP-HB-Hib) โดยจะให้ 3 ครั้ง
ตอนเด็กอายุ 2,4,6 เดือน
ผลข้างเคียงของวัคซีน เด็กจะมีอาการปวด บวม แดง ร้อนบริเวณที่ฉีดวัคซีน มีไข้สูง มีผื่ขึ้นบริเวณผิวหนัง เด็กจะหงุดหงิดร้องกวนงอแง
วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ (Poliomyelitis Vaccine)
เป็นวัคซีนชนิดเชื้อไวรัสมีชีวิต
ที่ทำให้มีฤทธิ์น้อยลงมีทั้งชนิดกินและชนิดฉีด
จะให้ครั้งแรกเมื่ออายุ 2,4, 6 เดือน ตามลำดับ กระตุ้น1 1⁄2 ปี และ 4-6 ปี
วัคซีนป้องกันโรคหัด หัดเยอรมัน คางทูม (Mump Measles Rubellar Vaccine)
เป็นวัคซีนเชื้อมีชีวิตให้ในเด็กครั้งแรกอายุ 9-12 เดือน และครั้งที่ 2 เมื่ออายุ 4-6 ปี
การฉีด MMR สามารถให้ได้พร้อมกันกับวัคซีนอีสุกอีใส แต่หากไม่สามารถให้ในวันเดียวกันได้ต้องเว้นห่างกัน 1 เดือน เพราะเป็นวัคซีนไวรัสมีชีวิตทั้งคู่
เพราะเป็นวัคซีนไวรัสมีชีวิตทั้งคู่ ปฏิกิริยาที่พบหลังฉีดคือ ไข้ มีผื่นออกจางๆ หลังฉีดไปได้ 5-12 วัน
น.ส.ชุดานันท์ เฟื่องบุบผา รุ่น 36/1 เลขที่ 29