Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีภาวะเสี่ยง และปัญหาสุขภาพ…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีภาวะเสี่ยง และปัญหาสุขภาพ
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
(Intrauterine growth restriction: IUGR หรือ fetal growth restriction: FGR)
ความหมาย
ทารกในครรภ์ที่ประมาณน้ำหนักต่ำกว่าเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 10 เมื่อเทียบกับอายุครรภ์นั้น
ประเภท
การเจริญเติบโตช้าแบบได้สัดส่วน
(symmetrical IUGR หรือ type I)
สาเหตุ
อยู่ในภูมิประเทศที่สูง ท้าให้ทารกในครรภ์มีภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง
มารดา BW < 45 kg.
ได้รับรังสีท้าลาย cell ในไตรมาสที่ 1
ยาและสารเสพติด
ความผิดปกติของโครโมโซม
ทารกพิการแต่กำเนิด
การติดเชื้อของทารกในครรภ์
การเจริญเติบโตช้าแบบผิดสัดส่วน
(asymmetrical IUGR หรือ type II)
สาเหตุ
มารดาเป็นโรคเกี่ยวกับเม็ดเลือดในการจับ O2
ภาวะครรภ์แฝด
มารดาเป็นโรคหลอดเลือด
ความผิดปกติของรกและสายสะดือ
ผลกระทบ
มารดา
เพิ่มอัตราการผ่าตัดคลอด
เพิ่มภาระในการเลี้ยงดู
ทารก
hypoglycemia
hypocalcemia
polycythemia
hyperbilirubinemia
การพยาบาล
ระยะคลอด
ติดตามความก้าวหน้าของการคลอดอย่างใกล้ชิด
แนะนำให้พักบนเตียง นอนในท่าตะแคงซ้าย
ระยะหลังคลอด
ตรวจร่างกายอย่างละเอียดเพื่อประเมินความพิการ
เน้นการควบคุมอุณหภูมิของทารก
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำการรับประทานอาหาร ประเภทโปรตีน
Amniotic fluid embolism
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด
ความหมาย
น้ำคร่ำหลุดเข้าในหลอดเลือดดำของมดลูกและผ่านเข้าไปในกระแสโลหิตไปอุดตันปอด ท้าให้เกิดความล้มเหลวของระบบไหลเวียนโลหิต หัวใจ ระบบหายใจเป็นเหตุให้เสียชีวิตได้
สาเหตุ
มีทางเปิดของหลอดเลือดดำของหญิงตั้งครรภ์ และมีแรงดันเพียงพอให้น้ำคร่ำพลัดเข้าไปสู่กระแสโลหิต
ปัจจัยส่งเสริม
มีบุตรหลายคน
การหดรัดตัวของมดลูกผิดปกติ
อายุมากกว่า 35 ปี
ทารกตายในครรภ์
มีขี้เทาในน้ำคร่ำ
อาการและอาการแสดง
เลือดออกไม่หยุด
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
หายใจลำบาก หอบ เขียว
ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจน
การรักษา
ระยะที่ 1 ระยะช็อก
การให้ออกซิเจน
resuscitate หรือ CPR
ให้นอนศีรษะสูง
ระยะที่ 2 ระยะหลังช็อก
หากเกิดภาวะ DIC ควรให้สารเลือดชดเชย FFP
ถ้าผู้คลอดรอดชีวิต ต้องส่งต่อเพื่อปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
มารดาวัยรุ่น
(Teenage or adolescent pregnancy)
สาเหตุ
การมีประจาเดือนครั้งแรกเร็ว ทำให้มีการตกไข่เร็ว
ระดับการศึกษาหรือสถานะทางสังคม และเศรษฐกิจต่ำ
สัมพันธภาพในครอบครัวไม่ดี ครอบครัวแตกแยก
เข้าถึงสื่อออนไลน์ต่างๆ ได้ง่าย เป็นสิ่งกระตุ้นให้วัยรุ่นมีความต้องการทางเพศเพิ่มขึ้น
การถูกข่มขืนโดยบุคคลในครอบครัวหรือบุคคลอื่น
ผลกระทบ
ทารก
อัตราตายปริกำเนิดสูงขึ้น
น้ำหนักตัวน้อย เกิดการคลอดก่อนกำหนด หรือเกินกำหนด
ถูกทารุณกรรมหรือถูกทอดทิ้ง
มารดา
เศรษฐกิจและสังคม
ทารกถูกทอดทิ้งไว้ที่รพ. หรืออยู่กับตายาย
ทารุณกรรม ล่วงละเมิดทางเพศ
จิตสังคม
เครียด เศร้า หดหู่ หงุดหงิด
ไม่ยอมรับ และปกปิด การตั้งครรภ์
ร่างกาย
ภาวะความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์
ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ภาวะทุพโภชนาการ ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
มารดาอายุมาก (elderly pravida)
ผลกระทบ
มารดา
ร่างกาย
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
โรคประจาตัวเรื้อรังมีความรุนแรงของโรคเพิ่มขึ้น
อัตราการตายสูงขึ้น
จิตใจ
สับสนในบทบาท การปรับตัวได้ช้า
เครียดหรือวิตกกังวล
อายเพราะตั้งครรภ์อายุมาก
ทารก
Down’s syndrome
ทารกเจริญเติบโตช้า การคลอดก่อนกำหนด
หรือเกินกำหนด
อัตราการตายปริกำเนิดสูง
การพยาบาล
ระยะคลอด
ป้องกันระยะการคลอดยาวนาน
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังไม่ให้เกิดภาวะตกเลือดหลังคลอด
ระยะตั้งครรภ์
เน้นการให้ความรู้เรื่องการปฏิบัติตัว การตรวจทางพันธุกรรม
การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
ผลกระทบ
ทารก
ครอบครัว
สตรีตั้งครรภ์
สังคม
การพยาบาล
รณรงค์เรื่องการวางแผนครอบครัว
ให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาอย่างถูกต้อง
ให้ความรู้เรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์และการคุมกำเนิดอย่างเหมาะสม
สร้างค่านิยมเรื่องเพศที่ถูกต้อง
ให้คำปรึกษาสตรีและครอบครัวอย่างเหมาะสม
สตรีที่ทำแท้งเรียบร้อยแล้ว ให้การดูแลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการทำแท้ง
การกระทำรุนแรงต่อสตรีตั้งครรภ์
(Intimate partner violence: IPV)
ความหมาย
ความรุนแรงที่เกิดขึ้นกับสตรีก่อนการตั้งครรภ์
ขณะตั้งครรภ์จนกระทั่งหนึ่งปีหลังคลอด
โดยมีผู้กระทำเป็นสามีหรือบิดาองทารกในครรภ์
ชนิดของความรุนแรง
ความรุนแรงทางกาย
ความรุนแรงทางจิตใจ/อารมณ์
ความรุนแรงทางเพศ
การคุกคามทางกายหรือทางเพศ
ผลกระทบ
เกิดการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
มีเลือดออกทางช่องคลอด
การแท้งบุตร
ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า มีน้ำหนักตัวน้อย
การพยาบาล
ส่งเสริมการปรับตัวขอสตรีมีครรภ์และครอบครัว
รวมทั้งส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดา
ทารก และครอบครัว
ส่งเสริมความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและสตรีมีครรภ์ไม่ถูกกระทำความรุนแรงซ้ำ
การใช้สารเสพติดในสตรีตั้งครรภ์ (Drug addicted pregnancy)
กลุ่มที่กระตุ้นการทำงานของประสาท
สารนิโคตินในบุหรี่
ทารกในครรภ์เติบโตช้า เกิดก่อนกำหนด
หายใจลำบาก แท้ง ตาย
IQ ต่ำ ไม่มีสมาธิ อยู่ไม่นิ่ง
หลอดเลือดหดตัว ทารกในครรภ์ขาดเลือดมาเลี้ยง
กลุ่มที่กดการทำงานของระบบประสาท
แอลกอฮอล์
ทารกเกิด FAS (Fetal alcohol Syndromes)
หนังคลุมหัวตามาก
จมูกแบน
ริมฝีปากบนยาวและบาง
ปลายจมูกเชิดขึ้น
ร่องริมฝีปากบน (Phil rum) เรียบ
ช่องตาสั้น
เฮโรอีน
ทารกมีภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ
ทารกหายใจลำบาก
หมดสติ
พิการแต่กำเนิด การเจริญเติบโตล่าช้า
ภาวะขาดยา
(neonatal abstinence syndrome)
แขนขาสั่น แขนขาผวาไม่เท่ากัน
หาวและจามบ่อย
เคลื่อนไหวมากผิดปกติ
หิวตลอดเวลา
มีอาการระบบประสาท
อาการระบบทางเดินอาหาร ท้องเสีย
แสดงอาการภายใน 24-48 ชม.
นางสาวอมรรัตน์ ฟ้าแลบ ชั้นปีที่ 3 เลขที่ 89