Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การสร้างเสริมสุขภาพบุคคล วัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ…
บทที่ 3 การสร้างเสริมสุขภาพบุคคล วัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
การสร้างเสริมสุขภาพบุคคลวัยผู้ใหญ่
ปัญหาที่พบในวัยผู้ใหญ่
1.ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพวัยผู้ใหญ่ด้าน ร่างกาย
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพวัยผู้ใหญ่ด้านจติใจ
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพวัยผู้ใหญ่ด้านสังคม
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพวัยผู้ใหญ่ด้าน จติวิญญาณ
แนวทางในการสร้างเสริมสุขภาพวัยผู้ใหญ่
แนวทางในการสร้างเสริมสุขภาพวัยผู้ใหญ่ด้านร่างกาย
สร้างเสริมความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
คงไว้ซึ่งความสมบูรณ์แข็งแรงของร่างกาย
นับสนุนให้มีการตรวจสุขภาพประจำปี
การให้วัคซีนที่จำเป็น
การดูแลตนเองเกี่ยวกับการมี กิจกรรม การออกกำลังกาย
ชนิดของการออกกา ลังกาย (Types of Exercise)
แบ่งตามลักษณะการหดตัวทำงานของกล้ามเนื้อ
1 การออกกำลังกายแบบไอโซเมตรกิ (Isometric exercise, Static)
2 การออกกำลังกายแบบไอโซโทนิค (Isotonic exercise, Dynamic)
3 การออกกำลังกายแบบไอโซคิเนติก (Isokinetic exercise)
สาเหตุของภาวะขาดสารอาหาร
การเปลยี่นแปลงตามอาย
ภาวะทพุพลภาพ
การได้รับยาหลายชนิดร่วมกัน
การควบคุมอาหารมากเกินไป เช่น ลดไขมัน หรอือาหารอนื่ๆ
ปัญหาทางสังคมและเศรษฐกิจ การมีรายได้ ต่างๆ
ภาวะทางอารมณ์
ผลกระทบของการมีภาวะขาด สารอาหาร
ติดเชื้อสูงขึ้น
แผลหายช้า
เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ
ต้องอยโู่รงพยาบาลนานขนึ้
อัตราการตายสูงขั้น
แนวทางการเพิ่มปริมาณ สารอาหารให้แกผู้สูงอายุ
หาสาเหตทุที่ าใหผ้สู้งูอายรุับประทานอาหาร ไมไ่ดห้รอืลดลง และแกไ้ขปัญหากนิอาหาร ไมไ่ดห้รอืลดลงของผสู้งูอาย
จัดหา/ ปรับปรมิาณอาหารใหผ้สู้งูอายใุห้ เหมาะสม แลว้จัดอาหารใหเ้หมาะสมแตล่ะ ปัญหาทมี่ ี ทัง้นต้ีอ้งสอดคลอ้งกบัความ ตอ้งการของผสู้งูอายดุว้ย
โรคโลหติจาง
โรคกระดกูผุ
โรคความดันโลหิตสูง
ท้องผูก
หลกัการจัดอาหาร สำหรับผู้สูงอายุ
อาหารควรมปีรมิาณและคณุภาพพอเพยีงกบั ความตอ้งการของรา่งกาย
แบง่อาหารออกเป็น 4-5 มอื้ ใหม้อื้กลางวัน เป็นอาหารหลัก เพื่อช่วยลดปัญหาแน่นท้อง หลังอาหาร
ดัดแปลงอาหารใหเ้คยี้วงา่ย
ให้ผู้สูงอายุได้รับน้ำอยา่งเพียงพอ
หลีกเลี่ยงอาหารที่ใช้น ้ามันมากๆ
ให้ดื่มเครื่องดื่มร้อนๆ ก่อนนอนจะทำให้หลับ สนิทดี
มื้อเย็นไม่ควรเป็นอาหารหนัก
ให้มีการออกกำลังกายอยา่งสม่ำเสมอเพื่อ กระตุ้นให้เกิดความอยากอาหาร กลา้มเนื้อ และกระดูกแข็งแรง
ลดการดื่มสรุาและงดการสูบบุหรี่
10.ด้านจิตใจ เอาใจใส่ผู้สูงอายุอย่างสม ่าเสมอ เพื่อให้ผู้สูงอายุรู้สึกอบอุ่น รับประทานอาหาร ได้และมีความสุข
หลักการดูแลตนเองในวัยสูงอายุ
การดูแลตนเองในด้านโภชนาการและสารน้ำ
ให้ได้รับพลังงานพอเพียงควบคุมน้ำหนัก
จัดโปรแกรมการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
ควรได้รับคาร์โบไฮเดรทเชิงซ้อน
หลีกเลี่ยงน้ำตาลฟอกสี
ลดอาหารไขมันทกุชนิด
การสร้างเสริมสุขภาพบุคคลวัยผู้สูงอายุ
จุดมุ่งหมายของการสรา้งเสริมสขุภาพในผู้สูงอายุ
วิเคราะห์ความสามารถและพลังอ านาจของ ผู้สูงอายุ
ป้องกันและบรรเทาความพร่องทางด้านร่างกาย จติใจ และสังคม
ป้องกันความเจ็บป่วยที่เกิดจากการรักษา
ให้ผู้สูงอายุมีอายุยืนตามความต้องการของ ผู้สูงอายุ
ให้ผู้สูงอายุสามารถท ากิจกรรมต่างๆ อย่างมี อิสระและมีประสิทธิภาพได้นานที่สุด
การจัดระบบสนับสนุนเกี่ยวกับการดูแลที่ เพียงพอแก่ผู้สูงอายุ
สนับสนุนและช่วยเหลือผู้สูงอายุให้สามารถปรับตัว ต่อปัญหาต่างๆ ได้
การดูแลในระยะสุดท้ายของชีวิต
อายุยืนยาวโดยไม่เป็นภาระของครอบครัว
วิธีการสร้างเสริมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุ
การกระทา ใหห้รือกระทา แทน
การชี้แนะ
การสนับสนุน
การสอน
การสร้างสิ่งแวดล้อมให้ผู้สูงอายุได้พัฒนา ความสามารถในการดูแลตนเอง
รูปแบบการออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ
การเดิน หรือวิ่งช้า ๆ (เหยาะ)
การออกกา ลังกายโดยวิธีกายบริหาร
การออกกำลังกายโดยวิธีว่ายน้ำ – เดิน ในน้ำ
การออกกำลังกายโดยวิธีขี่จักรยาน
การรา มวยจีน
การออกกำลังกายโดยวิธีฝึกโยคะ
การออกกำลังโดยวิธีฝึกในสวนสุขภาพ
แนวทางการจัดโปรแกรมการออกกำลังกายในผสู้งูอายุ
ควรได้รับการตรวจร่างกายก่อน
ประเมินระดับการท ากิจกรรม การเคลื่อนไหวข้อ (ROM) ความแข็งแรงและความตึงตัวของ กล้ามเนื้อ
ให้ความสำคัญกับความสม่ำเสมอ ความเร็วต่ำ
ตรวจสอบอัตราเต้นของหัวใจก่อนและระหว่าง การออกกำลังกาย
ควรมีการอบอุ่นร่างกาย (warm up)อย่างน้อย 10 นาที
ใช้เวลาติดต่อกัน 20-30 นาที
มีระยะผ่อนคลาย (cooling down) หลังออกกา ลังกาย 10 นาที
เริ่มออกก าลังกายแบบประคับประคอง (conservative exercise) แล้วค่อยๆ เพิ่มกิจกรรมขึ้น
ข้อเสียของการขาดการออกกำลังกาย
ด้านร่างกาย จะทา ให้เกิดอันตรายต่างๆ pneumonia แผลกดทับ ท้องผูก ติดเชื้อระบบ ทางเดินปัสสาวะ ข้อติดยึด และกล้ามเนื้อลีบ เป็นต้น
มีการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์และอัตมโน ทศัน ์(self-concept) เก็บกด และรู้สึกไร้คุณค่า
พึ่งพาบุคคลอื่นมากขึ้น
ลดโอกาสในการเข้าสังคม
การดูแลตนเองด้านการพักผ่อนและ การนอนหลับ
การช่วยเหลือผู้สูงอายุที่มีปัญหาการนอน หลับ
ประเมินแบบแผนการนอน สิ่งรบกวน แบบแผน กจิกรรม
เพิ่มกิจกรรมในตอนกลางวัน ลดการนอนงีบ
รักษาอุณหภูมิห้องให้อบอุ่นอยู่ระหว่าง21-24 C0
ควบคุมสิ่งรบกวนการนอน เช่น เสียงและไฟ
ปัสสาวะก่อนเข้านอน
ส่งเสริมการนอนหลับ เช่น เปิดเพลงเบาๆ
ประเมินคุณภาพการนอน
นวดหลัง เช็ดตัว ช่วยให้ผู้สูงอายุได้ผ่อนคลาย
ผ่อนคลายและแก้ไขสาเหตุที่วิตกกังวลหรือไม่ สบายใจ เช่น สวดมนต์ สมาธิที่เคยปฏิบัติ
จัดสิ่งแวดล้อมให้มีความสุขสบาย
แนะนำการออกกำลังกายประจำในช่วงเช้า หรือเย็น
ค้นหาสิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อการนอน
เข้านอนและตื่นนอนให้ตรงเวลา
ไม่ควรนอนหลับตอนกลางวันเกินกว่า 30 นาที
ที่นอนต้องไม่แข็งหรือนุ่มเกินไป
อาหารมื้อเย็นควรรับประทานให้พอเหมาะไม่ มากเกินไป ไม่เป็นอาหารที่ย่อยยาก
ในระยะที่มีอาการปวด ควรให้ยาบรรเทาปวด
ปรับชั่วโมงการนอนและกิจวัตรให้เหมาะสมกับ ชีวติประจา วัน
ลดความตงึเครียด หรือสร้างความผ่อนคลายใน ช่วงเวลา 1 ชั่วโมงก่อนเข้านอน
สาเหตุของอุบัติเหตุ
สาเหตจุากรา่งกายผสู้งูอาย
การมกีจิกรรมของผสู้งูอาย
สิ่งแวดล้อม
การป้องกันอันตรายจากอุบัติเหตุ
แยกปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุและการ วางแผนที่จะลดหรือหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงนั้น
บอกผู้สูงอายุถ้าเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมใหม่
ประเมินโอกาสเสี่ยง
กระตุ้นให้ผู้สูงอายุสวมแว่น หูฟัง และ อุปกรณ์เทียมเมื่อมีปัญหา
ให้กำลังใจให้ความมั่นใจในการใช้ไม้เท้า เครื่อง พยุงกาย และรถนั่งอย่างเหมาะสม
หลีกเลี่ยงการใช้เครื่องผูกยึด หรือใช้ยายกเว้นได้ ประเมินแล้วว่ามีความจำป็นและเลือกใช้วิธีที่ ปลอดภัย
เปลี่ยนท่าผู้สูงอายุอย่างช้าๆ จับให้มั่นคงเท่าที่จะ ทา ได้
จัดเก็บพื้นห้องให้เรียบร้อย ไม่ลื่น ไม่วางของ เกะกะ
เปิดไฟใหส้ว่างอย่างเพยีงพอโดยเฉพาะทางเด
แนะน าให้ผู้สูงอายุใช้ราวส าหรับจับเวลาลงนั่งหรือ เดิน เช่น ที่ทางเดิน หรือห้องน้ำ
ช่วยเหลือให้ผู้สูงอายุได้เคลื่อนย้ายอย่างปลอดภัย
ระมัดระวังการใช้ยาบางชนิด
สวมเสื้อผ้าที่เหมาะสมพอดีตัว สวมรองเท้าส้น เตี้ย หุ้มส้น ไม่มีเชือกผูก
การจัดสิ่งแวดล้อมภายในบ้านเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ
เก็บสายไฟ สายโทรศัพทใ์หเ้รียบร้อย
ห้องน ้ามีราวจับยึดบริเวณนั่งส้วมและอาบน ้า พื้นไม่ลื่น
โถส้วมควรใช้ชนิดนั่งแทนชนิดนั่งยอง
เฟอรน์ิเจอรต์้องวางเป็นระเบียบไม่เกะกะทางเดิน
รองเท้าที่สวมใส่ต้องเหมาะสม
บันไดบ้านต้องอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ มีราวเกาะ มีระยะของขั้นบันไดแต่ละระยะเท่าๆ กัน
พรมเช็ดเท้าที่ต้องไม่ขาดรุ่งริ่งและต้องยึดกับพื้น
หากผู้สูงอายุมีปัญหาในการทรงตัวควรใช้ไม้เท้าช่วยเด
พื้นบ้านต้องไม่ใช้วัสดุเป็นผิวมันลื่นหรือขัดมัน
ไม่ควรเปลี่ยนที่เก็บหรือวางของบ่อยๆ
พื้นบ้านไม่ควรมีหลายระดับควรเป็นพื้นราบ ระนาบเดียวกัน
ไม่ควรเก็บของไว้บนที่สูง
ไม่วางของเกะกะบนพื้นหรือทางเดิน
ควรมีโทรศัพท์และหมายเลขที่ติดต่อขอความช่วยเหลือ และแจ้งเหตุที่สามารถเห็นชัดบริเวณที่วางโทรศัพท ์ หรือตดิสัญญาณเรียกเวลาฉุกเฉิน
ภายในบ้านต้องมีแสงสว่างที่เพียง
ประตูห้องต่างๆ ควรปิด-เปิดง่าย และไม่ควรล็อค
ระมัดระวังในการใช้กระเป๋ าน ้าร้อนหรือเย็นแก่ผู้สูงอายุ รวมทั้งการใช้น ้าร้อนในห้องน ้าด้วย
ภาชนะข้าวของเครื่องใช้ควรมีน้ำหนักเบา
เตียงควรมีไม้กั้นข้างเตียงในกรณีที่ผู้สูงอายุมีภาวะสับสน หรือระดับความรู้สึกตัวลดลง
โภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและจิตใจ ของผู้สูงอายุที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
การทำหนา้ทขี่องการรับรสและการดมกลนิ่ลดลง
การทำหนา้ทขี่องกระเพาะอาหารลดลง
ประสิทธิภาพการเผาผลาญกลูโคสลดลง
เนอื้เยอื่ทปี่ราศจากไขมันลดลง
ความตอ้งการพลงังานขนั้พนื้ฐาน (basal energy expenditute) ลดลง
ปัญหาทางดา้นจติใจ
มคีวามออ่นแอตามวยั ท าใหไ้มส่ามารถ ช่วยเหลือตนเองได้
รายได้ลดลง ไม่มีก าลังในการซื้ออาหาร
ความต้องการโปรตีน
ผู้สูงอายุมีความต้องการโปรตีนหรือ กรดอะมิโนที่จ าเป็นต่อร่างกายมากกว่าวัยหนุ่ม สาวเพื่อซ่อมแซมและรักษาส่วนที่สึกหรอของ ร่างกาย
ความต้องการไขมัน
จำกัดไขมันไม่ควรเกนิร้อยละ 30 ของ พลังงานทั้งหมด และกรดไขมันอิ่มตัวไม่เกินร้อย ละ 10 ของพลังงานทั้งหมดรับประทานไขมันที่มี กรดไขมันไม่อิ่มตัวอย่างน้อยร้อยละ 10 ของ ปริมาณไขมันที่บริโภค
ความตอ้งการคารโ์บไฮเดรต
แนะนำใหอ้ยรู่ะหว่างร้อยละ 50-55 ของ ปรมิาณแคลอรี่ทั้งหมดแตค่วรเป็นอาหาร คาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน
ความตอ้งการของแรธ่าตุ
ผู้สูงอายตุอ้งการแรธ่าตตุา่งๆ เทา่กบัวัยผใู้หญ่ แตพ่บวา่ผสู้งูอายบุรโิภคไมเ่พยีงพอ และการ ดูดซึมแร่ธาตุในผู้สูงอายุมีน้อยกว่าคนหนุ่มสาว แร่ธาตุที่ผู้สูงอายุมักจะขาดคือ แคลเซียมและ เหล็ก
ความตอ้งการวติามิน
ผสู้งูอายจุงึควรรับประทานผัก ผลไมใ้หเ้พียงพอ ทกุวัน เพอื่ป้องกนัการเกดิโรคมะเร็ง โรคหัวใจ และตอ้กระจก
ความต้องการน้ำ
โดยทั่วไปผสู้งูอายคุวรไดร้ับน ้าประมาณ 30 ml ตอ่น ้าหนักตวั 1 กโิลกรัมตอ่วัน หรอืประมาณ 6-8 แกว้ตอ่วัน หรอืไมต่ า่กวา่1,500 mlตอ่วัน
ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อย ในผู้สูงอายุ
ภาวะโภชนาการเกิน (overnutrition)
การเปลยี่นแปลงของร่างกาย ได้แก่
1.1 การรับประทานอาหารแคลอรี่หรือไขมันสูง
1.2 สัดส่วนขององค์ประกอบเนื้อเยื่อที่เปลี่ยนแปลง ไป
1.3 อัตราการเผาผลาญพลังงานขั้นพื้นฐานลดลง
สาเหตทุางดา้นจติใจและพฤตกิรรม
พันธกุรรม
พยาธิสภาพและยาที่ได้รับ
4.1 ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ
4.2 ความผิดปกติของสมองส่วน Ventromedial hypothalamus ซึ่งเป็นศูนย์ ควบคมุความอมิ่
4.3 ยา ยาที่ใช้รักษาโรคหลายชนิดมีผลท า ให้อ้วนได้ เช่น ยารักษาโรคจิตกลุ่ม pennothiazine ,non-steroid antiinflamatory drugs, antihypertensive และยาในกลมุ่ฮอรโ์มน
ภาวะโภชนาการต่ำ
น ้าหนักลดลงรอ้ยละ 5 ของน ้าหนักทเี่คยเป็นภายใน 1 เดอืน (รอ้ยละ 10 ของน ้าหนักทเี่คยเป็นภายใน 6 เดอืน)
ค่าอัลบูมินในซีรั่มน้อยกว่า 3.5 กรัมต่อเดซิลติร
ไขมันในเลอืดนอ้ยกวา่ 160 มิลลิกรัมต่อเดซิลิต