Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการบริหารจัดการ (Managementtheories) (ผู้นำด้านพฤติกรรม (ภาวะผู้นำ 5…
ทฤษฎีการบริหารจัดการ (Managementtheories)
ทฤษฎีการบริหารจัดการ
การจัดการเชิง
วิทยาศาสตร์
Frederick Taylor
(1859-1915)
Frank Gilbreth
(1868-1924)
Lilian Gilbreth
(1878-1972)
แนวคิดหลัก
เน้นที่เครื่องจักร
วิเคราะห์องค์ประกอบของการทำงาน
ฝึกอบรมพนักงาน
ใช้อุปกรณ์และเครื่องมือที่เหมาะสม
ใช้สิ่งล่อใจ
ใช้การศึกษาเรื่องเวลาและการเคลื่อนไหวเพื่อให้การทำงานง่ายขึ้น
การนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
เลือกใช้อุปกรณ์และเครื่องมือที่เหมาะสมกับงาน
ฝึกฝนการทำงานให้คล่องแคล่ว
ใช้เวลาในการทำงานให้คุ้มค่า
ทฤษฎีระบบราชการ
Max Weber
(1864-1920)
แนวคิดหลัก
การแบ่งส่วนแรงงาน สายบังคับบัญชาและอำนาจสั่งการ
หลักการและเหตุผล การจัดการที่ไม่เกี่ยวกับบุคคล
ใช้คุณสมบัติและทักษะเป็นพื้นฐานในการเลื่อนตำแหน่งและให้รางวัล
การนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
การจัดสรรหน้าที่การทำงานเป็นส่วนๆ
ใช้หลักการและเหตุผลในการทำงาน
หลักการบริหาร
Mary Parker Follet (1868-1933)
แนวคิดหลัก
1.การจัดการเชิงวิทยาศาสตร์
หลักการขององค์การที่ประยุกต์ในทุกสถานที่
Henri Fayol (1841-1925)
แนวคิดหลัก
การมีผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียว
การแบ่งงานกันทำ
การมีเป้าหมายเดียวกัน
หน้าที่ของการจัดการ : การวางแผน การ
จัดองค์การ
การประสานงาน และการควบคุม
Chester
แนวคิดหลัก
สนใจวิธีการที่เกิดประโยชน์สูงสุดสำหรับการบริหารเพื่อบรรลุประสิทธิผลด้านเศรษฐศาสตร์
Luther Gulick and Lyndal Urwick (1937)
แนวคิดหลัก
1.การวางแผน การจัดองค์การ การนิเทศการชี้นำ การประสานงาน การรายงานและการงบประมาณ (POSDCORB)
2.หลักการ 4 ประการ การประสานงาน สายบังคับบัญชา การแบ่งงานกันทำ และหลักการของ Staff / Lineการนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
James Mooney (1939)
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
แบ่งงานกันทำ
เชื่อฟังคำสั่งของผู้บังคับบัญชา
เลือกใช้วิธีการที่เกิดประโยชน์สูงสุดสำหรับหน่วยงาน
การจัดการด้าน
มนุษยสัมพันธ์
Elton Mayo (1933)
Fritz Roethisberger
(1933)
แนวคิดหลัก
จากงานวิจัย Hawthorne นำไปสู่ความเชื่อด้านมนุษยสัมพันธ์ ระหว่างคนงาน ผู้จัดการและกลุ่มคนงานที่มีต่อประสิทธิผลและHawthorne effect คือการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมซึ่งเป็นผลมาจากการได้รับการเฝ้าประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
การนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
มีสัมพันธภาพที่ดีกับเพื่อนร่วมงาน
ทฤษฎีภาวะผู้นำ
Kelly – Heidenthal
หน้าที่ของผู้นำ
การแยกแยะสาเหตุที่ทำให้ผู้ปฏิบัติแสดงพฤติกรรมนั้น ว่าเกิดจากบุคคล งาน หรือสภาพสิ่งแวดล้อม
การนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
มีภาวะความเป็นผู้นำ
รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
เข้าใจลักษณะของผู้ปฏิบัติงานแต่ละคน
ทฤษฎีแรงจูงใจ
Abraham Maslow (1908-1970)
แนวคิดหลัก
ลำดับขั้นของความพึงพอใจด้านร่างกายความปลอดภัย การเป็นเจ้าของ/ มีส่วนร่วมการเป็นตัวของตัวเองและความสำเร็จในชีวิต
.Frederick Herzberg (1968) Two – factor theory
แนวคิดหลัก
ปัจจัยด้านอนามัย : ป้องกันไม่ให้เกิดไม่พึงพอใจในงาน ให้ได้เงินเดือนและการนิเทศที่เพียงพอ ปลอดภัย และทนต่อสภาพการทำงาน
ผู้ให้แรงจูงใจ : ความพึงพอใจในงานการทำงานอย่างมีความหมาย มีโอกาสได้พัฒนา มีความรับผิดชอบและเป็นที่ยอมรับ
Douglas McGregor (1906-1964)
ทฤษฎี X : ผู้นำต้องชี้นำและควบคุมดังผลที่เกิดจากแรงจูงใจทั้งการให้รางวัลและการลงโทษ
ทฤษฎี Y : ผู้นำต้องขจัดอุปสรรค ขณะที่คนงานมีการควบคุมตนเอง มีวินัยในตนเอง
การนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
มีวินัยในตนเอง
รู้จักการแก้ปัญหาด้วยตนเอง
ผู้นำด้านพฤติกรรม
Kurt Lewin
ภาวะผู้นำ 3 รูปแบบ
ผู้นำแบบ
อัตตานิยม
การทำงานกลุ่มได้ผลงานสูง แต่ต้องมีการนิเทศใกล้ชิด
เกิดความเกลียดชังและคัดค้านไม่พอใจ
ผู้นำแบบ
ประชานิยม
ผลงานมีประสิทธิภาพไม่ว่าผู้นำจะควบคุมหรือไม่ก็ตาม
เกิดความรู้สึกที่ดีต่อกลุ่ม
ผู้นำแบบ
เสรีนิยม
ผลผลิตที่ต่ำ
รู้สึกหมด
หวัง
ภาวะผู้นำ 2 รูปแบบ
ผู้นำเน้นงาน
เน้นที่ตารางการทำงานค่าใช้จ่ายประสิทธิผล
เกิดประสิทธิภาพน้อย
ผู้นำเน้นบุคคล
ผู้นำที่มีประสิทธิภาพ
เน้นความต้องการของมนุษย์
ภาวะผู้นำ 2 มิติ
โครงสร้างการริเริ่ม
โครงสร้างการพิจารณา
4 รูปแบบ
มีโครงสร้างในการริเริ่มต่ำ มีการพิจารณาต่ำ
มีโครงสร้างในการริเริ่มสูง มีการพิจารณาต่ำ
มีโครงสร้างในการริเริ่มสูง มีการพิจารณาสูง
มีโครงสร้างในการริเริ่มต่ำ มีการพิจารณาสูง
ภาวะผู้นำ 5 รูปแบบ
ผู้นำที่สิ้นหวัง
ผลผลิตต่ำแต่สนใจบุคคลสูงเป็นผู้นำที่มีอำนาจตามตำแหน่ง
ผลผลิตสูงแต่สนใจบุคคลต่ำ
ผู้นำที่ทุกอย่างอยู่ในระดับกลาง
ผลผลิตสูงแต่สนใจบุคคลสูง
การนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
เลือกรูปแบบภาวะผู้นำให้เหมาะสมกับงานหรือผุ้ร่วมปฏิบัติงาน
มีภาวะความเป็นผุ้นำ
น.ส.วรนุช แก้วสุวรรณ์ เลขที่ 63 รหัส 601901066