Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การจัดระบบสารสนเทศภายในสถานศึกษาเพื่อ การบริหารและการประกันคุณภา…
บทที่ 5
การจัดระบบสารสนเทศภายในสถานศึกษาเพื่อ
การบริหารและการประกันคุณภาพการศึกษา
ของสถานศึกษา
บทนำ
แนวทางดำเนินการจัดระบบบริหารและสารสนเทศ
จัดโครงสร้างที่เอื้อต่อระบบการประกันคุณภาพภายใน
กำหนดผู้รับผิดชอบให้เป็นหมวดหมู่ ครอบคลุม สะดวก
นำเสนอข้อมูลไปใช้ในการบริหารและพัฒนาการสอน
แนวคิดในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
พัฒนาเด็กให้เป็นคนเก่ง ดี มีความสุข รักษาความเป็นไทย
พัฒนาครูด้วยการอบรมให้มีความพร้อม มีจิตวิญญาณ
พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพ
พัฒนาการบริหาร กระจายอำนาจคู่การเน้นธรรมาภิบาล
ความสำคัญของการบริหารสถานศึกษา
ระบบบริหารสถานศึกษา
กิจกรรมทั้งหมดที่จำเป็นต่อการดำเนินการภายใน
สถานศึกษา โดยกำหนดแบบแผน วิธีการ ขั้นตอนเพื่อ
ให้บรรลุวัตถุประสงค์ของสถานศึกษา
การบริหารที่ใช้ศาสตร์และศิลป์
การดำเนินงานที่มีส่วนร่วมเพื่อผลสำเร็จ
โดยนำกระบวนการที่เหมาะสมมาใช้
ให้บรรลุตามเป้าหมายสถานศึกษา
หลักการบริหารสถานศึกษา
ยืดโรงเรียนเป็นศูนย์กลางการตัดสินใจ
มุ่งให้โรงเรียนมีอิสระในการตัดสิน
โดยยึดประโยชน์ที่เกิดกับผู้เรียน
มีส่วนร่วม
กำหนดให้บุคคลหลายฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมเป็นคณะกรรมการร่วมแสดงความคิดเห็น
กระจายอำนาจ
กระจายอำนาจด้านบริหาร จัดการ วิชาการ งบประมาณ ทั่วไป โดยคณะกรรมการสถานศึกษาตรวจสอบ
รับผิดชอบตรวจสอบได้
กำหนกความรับผิดชอบ เพื่อเป็นหลักประกันคุณภาพการศึกษา
มีธรรมาภิบาล
เพื่อประกันว่าในองค์การจะไม่มีการฉ้อราษฎร์บังหลวง
ไม่ด้อยประสิทธิภาพ
เป็นนิติบุคคล
เป็นการให้สิทธิและอำนาจหน้าที่ที่กำหนดไว้เป็นของตนเอง ซึ่งได้กำหนดอำนาจเป็นของโรงเรียนไว้โดยเฉพาะ
การบริหารสถานศึกษา
หน้าที่การบริหาร
การวางแผน (Planning)
ตัดสินใจล่วงหน้าว่าจะดำเนินการอย่างไรให้บรรลุและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
การจัดองค์กร (Organizing)
จัดการทรัพยากรต่างๆเพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ
การนำ (Leading)
เพื่อให้บุคลากรปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมายขององค์การ
ซึ่งต้องอาศัยภาวะผู้นำของผู้บริหาร
การควบคุม (Controlling)
การกำกับให้การดำเนินงานและกิจกรรมที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามเป้าหมายและแผนขององค์การที่ได้กำหนด
ภารกิจการบริหารสถานศึกษา
ด้านวิชาการ
งบประมาณ
การบริหารงานบุุคล
การบริหารทั่วไป
กระบวนการการบริหารคุณภาพ
ภายในสถานศึกษา
กระบวนการ PDCA
การวางแผนและระบบการปฏิบัติงาน (Plan)
ดำเนินการตามแผนและระบบการปฏิบัติงาน (Do)
การปรับปรุงและพัฒนา (Action)
การตรวจสอบและประเมินผล (Check)
กระบวนการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (SBM)
กระบวนการบริหารอื่น ๆ
เช่น PMQA, TQM, RMB
การจัดโครงสร้างหรือระบบบริหารงานที่เอื้อต่อการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
จัดโครงสร้างหรือระบบบริหารงานของสถานศึกษา
ที่เอื้อต่อการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน
กำหนดผู้รับผิดชอบและจัดระบบสารสนเทศให้เป็น
หมวดหมู่สะดวกต่อการเข้าถึงและการให้บริการ
นำข้อมูลสารสนเทศไปใช้ประโยชน์ในการบริหาร
และการพัฒนาการเรียนการสอน
ภารกิจในการบริหารสถานศึกษา
กระจายอำนาจการบริหารและจัดการศึกษา
บริหารงานวิชาการ งบประมาณ งานบุคคล ทั่วไป
ไปยังเขตที่รับผิดชอบโดยตรง
ความสัมพันธ์ระหว่างระบบบริหารและสารสนเทศกับระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
มีระบบการบริหารและการจัดการศึกษาที่นำไปสู่คุณภาพ
ของผู้เรียน
ระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง
นำไปตัดสินอย่างมีประสิทธิภาพ
ระบบสารสนเทศในสถานศึกาษา
ข้อมูล Data
ข้อเท็จจริงต่างๆที่รวบรวมโดยผ่านการประมวณผล
เช่น จำนวนห้องเรียน จำนวนนักเรียน
น้ำหนัก ส่วนสูง เกรดเฉลี่ย คะแนนสอบ O-net
สารสนเทศ (Information)
ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผลหรือการจนอยู่ในรูปแบบ
ที่มีความหมาย สามารถนำไปใช้ประกอบการตัดสินใจ
ตามวัตถุประงสงค์
ระบบสารสนเทศ (Information System)
กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูลให้อยู่ในรูปสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ สะดวกต่อการใช้
ขั้นตอน
การรวบรวมข้อมูล
สร้างหรือจัดหาเครื่องมือในการจัดเก็บให้สอดคล้องกับ
ลักษณะของข้อมูลและแหล่งข้อมูล
การตรวจสอบข้อมูล
ควรมีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน
การประมวลผลข้อมูล
การเปลี่ยนแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่นำไปใช้ประโยชน์
เช่นการเรียงลำดับ จัดกลุ่ม
การนำเสนอข้อมูลและสารสนเทศ
จัดทำเป็นสารสนเทศที่มีความหมายชัดเจน อาจสร้างตาราง แผนภาพ กราฟ หรือการบรรยายเป็นความเรียงก็ได้
การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศ
สะดวกต่อการนำมาใช้ประโยชน์ อาจเก็บเป็นแฟ้มก็ได้
วิธีดำเนินการ
1) ระบบทำด้วยมือ (Manual System)
ข้อดี คือค่าใช้จ่ายน้อย
ข้อเสีย คือไม่สะดวก ไม่เหมาะสม
2) ระบบกึ่งอัตโนมัติ (Semi – Automation)
3) ระบบอัตโนมัติ (Full – Automation)
องค์ประกอบของระบบบริหารภายในสถานศึกษา
ปัจจัยนำเข้า (Input)
เป็นทรัพยากรหรือสิ่งที่จำเป็นเพื่อนำไปสู่ระบบ
และก่อให้เกิดการทำงาน
กระบวนการ (Process)
เป็นการทำหน้าที่แปรสภาพทรัพยากรหรือประมวลผลให้เป็นผลผลิต
ผลผลิต (Output)
เป็นสิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นตามวัตถุประสงค์ของระบบ
ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback)
เป็นส่วนที่ใช้ควบคุมการทำงานของระบบให้เป็นไป
ตามวัตถุประสงค์
สภาพแวดล้อม (Environment)
เป็นสภาพทั่วไปของบริบทที่อยู่ล้อมรอบระบบ
หรือองค์การ
การกำหนดผูรับผิดชอบและจัดระบบสารสนเทศ
การจัดระบบบริหารและสารสนเทศที่เอื้อต่อการพัฒนา
ระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
1) คัดเลือกบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถในด้านการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี
2) จัดให้มีระบบติดตามการปฏิบัติงาน
3.ให้การสนับสนุนบุคลากรในสถานศึกษาให้ได้รับการอบรมพัฒนาทักษะ
4.ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของข้อมูลสารสนเทศ
5) สนับสนุนให้บุคลากรในสถานศึกษาทุกคนมีความรู้และสามารถสืบค้นข้อมูลได้ด้วยตัวเอง
การจัดระบบสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่
จัดระบบตามลักษณะข้อมูล
1) ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา
2) ข้อมูลสารสนเทศที่เกิดจากากรเรียนรู้
3) ข้อมูลสารสนเทศที่เกิดจากการดำเนินงานตามแผน
จัดระบบเพื่อเตรียมพร้อมประเมินคุณภาพภายนอก
1) ผลการประเมินคุณภาพภายใน
2) ผลการดำเนินงานตามแผนประจำปี
3) ผลการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรย้อนหลัง 3 ปี
จัดระบบตามลักษณะข้อมูลสารสนเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพ
1) ข้อมูลสารสนเทศพื้นฐาน
2) ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียน
3) ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารงานวิชาการ
4) ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
5) ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการรายงาน
จัดระบบภารกิจการบริหารสถานศึกษาและบุคคลากร
1) งานวิชาการ
2) งานบุคลากร
3) งานงบประมาณ
4) งานบริหารทั่วไป
การนำข้อมูลสารสนเทศไปใช้ประโยชน์
จากโปรแกรมประยุกต์
O-BEC
เน้นการจัดเก็บข้อมูลที่เป็นความต้องการในการบริหารจัดการศึกษา จัดสรรงบ
SMIS
พัฒนาขึ้นเพื่อจัดเก็บข้อมูลในระดับสถานศึกษา
M-OBEC Matenal
เป็นโปรแกรมเพื่อบันทึกประมวลผลและรายงานข้อมูลครุภัณฑ์รายโรงเรียน
B-OBEC Building
เป็นโปรแกรมเพื่อบันทึกประมวลผลและรายงานข้อมูลสิ่งก่อสร้างรายโรงเรียน
ข้อมูลสารสนเทศทั่วไป
ด้านผู้เรียน
ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล
ด้านครู
อายุราชการ วุฒิการศึกษา การศึกษาต่อ
ด้านผู้บริหาร
การวางแผนทางการศึกษา การประกันคุณภาพภายใน
งานด้านวิชาการ
การจัดท าแผน/โครงการ/กิจกรรมด้านวิชาการ/กิจการนักเรียน
นางสาวมัลลิกา อ่อนประชู รหัสนิสิต 60206699
วิทยาลัยการศึกษาแขนงวิชาชีววิทยา