Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) กับระบบบริการสุขภาพของไทยที่ส…
การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19)
กับระบบบริการสุขภาพของไทยที่ส่งผลต่อสุขภาพประชาชน
การเงินและการคลัง
ค่าใช้จ่ายครัวเรือน
รัฐบาลได้มีการแจกเงินให้ผู้ที่หยุดงานและไม่มีประกันสังคม เดือนละ5000 บาทต่อเดือน
เป็นเวลา 3เดือน
ครอบครัวขาดรายได้เนื่อจากต้องหยุดงาน
ค่าใช้จ่ายภายในบ้านสูงขึ้น เช่น ค่าไฟ
งบประมาณแผ่นดิน
มีหลักประกันสุขภาพ
การบริจาค
โรงพยาบาลต่างๆ มีการเปิดรับบริจาค
โรงพยาบาลต่างๆมีการเปิดรับบริจากเงิน
มีการทำ Challenge บริจาค 20 บาทบอกต่อ
20 คนเกิดในโซเชียล
มีการบริจาคหน้ากากอนามัยให้บุคลากรทางการแพทย์
มีการบริจากตู้ปราศจาคเชื้อให้กับโรพยาบาลต่างๆ
มีการบริจากสิ่งของสำหรับทำ Face shield
การช่วยเหลือจากต่างประเทศ
ประเทศจีนได้มีการบริจาคหน้ากากอนามัยให้กับประเทศไทย
สหรัฐอเมริกาบริจาคเงิน 2 ล้านดอลล่าร์ ให้ไทย
ชุมชน
เทศบาล/องการบริหารส่วนตำบล/ผู้ใหญ่บ้าน
มี อสม คอยเป็นกำลังเสริมในการตรวจตราและดูแลบุคลที่อยู่ในชุมชน ค่อยเฝ้าระวัง และติดตาม
มีการตรวจตราคนเข้าออกภายในชุมชน สำหรับคนที่มาจากต่างจังหวัด ในกักตัวอยู่ที่บ้าน 14วัน
ทรัพยากรด้านสาธารณสุข
บุคลากรสาธารณสุข
แพทย์มากกว่าร้อยละ 90%
ต้องทำงานอย่างหนักข้ามวัน
แพทย์ พยาบาล และบุคลากรสาธารณะสุขไม่เพียงพอต่อการรักษาผู้ป่วย
ทำให้ดูแลได้อย่างไม่ทั่วถึง
บุคลากรทางการแพทย์ถูกมองว่าเป็นตัวนำเชื้อเนื่องจากต้องดูแลผู้ป่วย
พยาบาลต้องทำงานเย่างหนักติดต่อกันเกิน24ชั่วโมง
มีบุคลากรทางการแพทย์ติดเชื้อจากการดูแลผู้ป่วย
เครื่องมือ/อุปกรณ์
จำนวนเตียงไม่เพียงพอต่อผู้ป่วย
โรงพยาบาลห่างไกลมีพื้นที่รับผู้ป่วยจำกัด
เครื่องมือทางการแพทย์ไม่เพียงพอ
หน้ากากอนามัยหรือชุดป้องกันเชื้อไม่เพียงพอต่อบุคลากรทางการแพทย์
โรพยาบาลบางพื้นที่ยังขาดอุปกรณ์ในการป้องกันเชื้อ
บุคลากรทางการแพทย์ต้องผลิต Face shiled ใช้เอง
หน้ากากอนามัย เจลล้างมือ แอลกอฮอร์ฆ่าเชื้อ
มีราคาแพงและขาดตลาด
ขาดชุดป้องกันเชื้อ PPE หน้ากากN95
แพทย์ต้องนำชุดกันฝนมาใช้แทนชุดป้องกันเชื้อ
โครงสร้างองค์กร
มีการแยกการทำงานเป็นฝ่าย
มีการตรวจสอบและประสานงานได้เร็วขึ้น
มีการทำงานอย่างเป็นระบบ
จัดการกับสถานการณ์ได้อย่างรวดเร็ว
รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการมีความสัมพันธ์ทางอ้อมโดยอาศัยสื่อต่างๆ
เพื่อที่จะได้ควบคุมวิกฤตของสถานการณ์ได้
เพื่อที่ประชาชนจะได้ป้องกันตนเอง
เพื่อบอกระยะ ของสถานการณ์ว่าอยู่ในระดับใด
การบริหารจัดการ
มาตรการและแนวทางการดำเนินเพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค
ประกาศให้เป็นโรคติดต่ออันตรายลำดับที่14
ประกาศเมื่อวันที่26 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2563
ยับยั้งการระบาดในประเทศ
การปิดช่องทางเข้า-ออกในราชอาณาจักรในพื้นที่
ผู้ที่มีความเสี่ยงให้กักตัวอยู่บ้านเพื่อสังเกตุอาการ14วัน
ห้ามผู้คนออกจากบ้าน ตั้งแต่เวลา 22:00-04:00น.
ห้ามชุมนุม หรือทำกิจกรรมในสถานที่แออัด
ห้ามกักตุนสินค้า เวชภัณฑ์ อาหาร น้ำดื่มและสิ่งของจำเป็น
งดการเรียนการสอนในสถานศึกษา
ให้ปรับมาเป็นการสอนแบบออนไลน์แทน
ผู้ที่เดินทางจากต่างประเทศเข้ามาในประเทศไทย
ปิดช่องทางการเดินทางเข้าสู้ประเทศไทยทั้งทาง บก ทางน้ำ และทางอากาศ
ผู้ที่จะเดินทางเข้ามาในประเทศไทยได้
บุคคลที่ได้รับการยกเว้นให้สามารถเดินทางเข้าสู่ประเทศไทยได้
ผู้ไม่มีสัญชาติไทยแต่มีใบอนุญาตทำงานหรือ
ได้รับอนุญาติจรกทางราชการในทำงานในประเทศไทย
ผู้ที่มีสัญชาติไทยที่ประสงค์อยากกลับเข้ามาในประเทศไทยให้ติดต่อสถานฑูตไทยหรือสถานกงสุลไทย
ให้เดินทางกลับมาภายในประเทศไทย
ผู้ขนส่งสินค้าตามความจำเป็นแต่เมื่อเสร็จภารกิจแล้วให้รีบกลับออกนอกประเทศโดยเร็ว และปฏิบัติตามกฏอย่างเคร่งครัด
บุคคลในคณะฑูต คณะกงสุล องค์การระหว่างประเทศหรือผู้แทนรัฐบาลที่ต้องมาปฏิบัติงานในประเทศไทย
ผู้ควบคุมยานพาหนะหรือเจ้าหน้าที่ประจำยานพาหนะ
ซึ่งจำเป็นต้องเดินทางเข้ามาและกำหนดเวลาเดินทางออกอย่างชัดเจน
ผู้ที่มีเหตุยกเว้นตามที่นายกรัฐมนตรีหรือหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินกำหนด หรืออนุญาต
ตามความจำเป็นโดยอาจกำหนดเงื่อนไข
ผู้ที่ได้รับการผ่อนปรนต้องมีใบรับรองแพทย์ที่ยืนยันว่ามีสุขภาพเหมาะสมต่อการเดินทางทางอากาศ
(Fit to Fly Health Certificate)ที่ออกให้ภายใน
72 ชั่วโมงก่อนการเดินทาง
ผู้ที่เดินทางเข้าประเทศไทยจะต้องปฏิบัติตัวตาม
คำแนะนำในการควบคุมป้องกันโรคอย่างเคร่งครัดห้ามฝ่าฝืน
รณรงค์ป้องกันเชิงรุก สร้างความเข้าใจ
และการได้รับความร่วมมือจากประชาชน
รณรงค์กันอย่างเข้มข้น
กินร้อน ช้อนตนเอง
ล้างมือ7ขั้นตอน ล้างบ่อยๆ
สวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า
เพื่อป้องกันไวรัสโควิดให้ได้มากที่สุดเวลาออกจากบ้าน
อยู่ห่างกัน1-2เมตร
สร้างภูมิคุ้มกันทางกาย
การออกกำลังกาย
กินวิตามินเสริม
พักผ่อนให้เพียงพอ
เวลาออกไปไหนให้สวมใส่หน้ากากอนามัย
การบริการสุขภาพ
รัฐบาล/เอกชน
มีการจัดหาสื่อประชาสัมพันธ์การป้องกันการแพร่กระจายเชื่อ COVID-19
รัฐมีการจัดจำหน่ายหน้ากากอนามัยให้ประชาชน
จัดให้มีจุดแอลกอฮอล์สำหรับทำความสะอาดมือไว้ในพื้นที่ส่วนกลาง
จุดประชาสัมพันธ์
ห้องน้ำสาธารณะ
ห้องอาหาร
ประตูทางเข้า-ออก
บริเวณหน้าลิฟต์
ร้านค้าต่างๆ/ห้างสรรพสินค้า
มีจุดคัดกรองผู้รับบริการ
มีเครื่องตรวจวัดอุณหภูมิร่างการ
มีบริการเจลแอลกอฮอล์ให้ล้างมือ
จัดให้มีมาตรการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคลอย่างน้อย1-2เมตร
ให้สวมหน้ากากอนามัยก่อนเข้าใช้บริการ
นางสาวมนทิราวรรณ โสทัน เลขที่76 รหัส611901080 ชั้นปีที่3