Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาทางจิตสังคม (6.1…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาทางจิตสังคม
6.1 ผู้ที่มีพฤติกรรมไม่เป็นมิตร
ลักษณะของผู้ที่มีพฤติกรรมที่ไม่เป็นมิตร
มีพฤติกรรมการทำลาย (Destructive)บุคคล
มีแต่ความเกลียดชัง อิจฉา ริษยา
ความไม่เป็นมิตรมักจะเป็นผลมาจากความก้าวร้าว
ความไม่เป็นมิตรเป็นผลมาจากความรู้สึกไม่เพียงพอและความรู้สึกสูญเสียความมีคุณค่าในตนเอง
สาเหตุและกลไกทางจิต
1.ความไม่เป็นมิตรมักถูกปลูกฝังตั้งแต่วัยทารกเมื่อมีสิ่งคุกคามทางจิตใจ บุคคลไม่สามารถแสดงออกถึงความคับข้องใจได้
2.เกิดจากสิ่งแวดล้อมหรือบุคคลอื่นมีอิทธิพลที่ส่งผลให้บุคคลเรียนรู้ที่จะเก็บซ่อนความคิด ความรู้สึกข่มความขมขื่น
3.การเก็บกดสิ่งที่ตนเองต้องการเอาไว้และเกิดความคับข้องใจของตนเอง มักจะส่งผลให้บุคคลนั้นรับรู้การมีคุณค่าในตนเองต่ำ
วิธีการบำบัดทางการพยาบาล
1.ประเมินปัญหาทางการพยาบาล
ประเมินความไม่เป็นมิตร สามารถประเมินได้จากร่างกาย สติปัญญาและ การแสดงออก
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย เช่น ความดันโลหิตสูง หายใจถี่ขึ้น อาเจียน ปากแห้ง คอแห้ง
ด้านคำพูด เช่น การพูดกระทบกระเทือน ส่อเสียด ดูถูกข่มขู่โต้แย้ง และอาจรุนแรงถึงการดุด่า พูดจาชวนทะเลาะ
ด้านพฤติกรรม เช่น ท่าทีเฉยเมย ต่อต้าน เงียบ เชื่องช้า ไม่ยอมสบตา เดินหนี
2.ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การวินิจฉัยทางการพยาบาลจะมุ่งเน้น ที่การประเมินด้านร่างกาย และด้านสติปัญญา สิ่งที่ต้องพิจารณาคือปัจจัยต้นเหตุที่กระตุ้นหรือมีอิทธิพลทำให้บุคคลนั้นเกิดความรู้สึกไม่เป็นมิตร
3.กิจกรรมทางการพยาบาล
การป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับบุคคลอื่นและการช่วยเหลือบุคคลนั้นให้เผชิญกับความไม่เป็นมิตรในเชิงสร้างสรรค์รวมทั้งให้การช่วยทำให้ความรู้สึกความไม่เป็นมิตรลดลงอยู่ในระดับที่ไม่เป็นอันตราย
4.การประเมินผลทางการพยาบาล
บุคคลนั้นสามารถบอกความพูดเกี่ยวกับความรู้สึกไม่เป็นมิตร แยกแยะสิ่งที่มาคุกคามทางจิตใจและสามารถหาแนวทางในการป้งกันและเผชิญปัญหาได้ถูกต้อง
6.2 ผู้ที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว
ลักษณะของผู้ที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว
พฤติกรรมก้าวร้าวทางคำพูด : ใช้คำพูดตำหนิ ติเตียน วิพากษ์วิจารณ์พูดในแง่ร้าย เสียงดัง ข่ตูะคอก เอะอะอาละวาด
พฤติกรรมก้าวร้าวแสดงออกทางร่างกาย : มีสีหน้าบึงตึงแววตาไม่เป็นมิตร ท่าทางไม่พอใจ กระวนกระวาย อยู่ไม่นิ่งไม่สนใจเรื่องการกินการนอน
2.1 พฤติกรรมก้าวร้าวทำลายสิ่งของได้แก่ทุบทำลายสิ่งของเครื่องใช้ทุบกระจก จุดไฟเผา ปิดประตูเสียงดัง
2.2 พฤติกรรมก้าวร้าวทำร้ายคนอื่น หาเรื่องวิวาททำร้าย
และละเมิดสิทธิผู้อื่น
2.3 พฤติกรรมก้าวร้าวทำร้ายตนเอง เช่น การหยิกข่วนตนเอง
การใช้มีดกรีดข้อมือตนเองการดึงผม
สาเหตุ
ปัจจัยทางด้านชีวภาพ (Biological factors)
1.2 การเจ็บป่วยด้วยโรคทางร่างกาย
1.1 ระดับความผิดปกติของสารเคมีในสมอง
ปัจจัยทางด้านจิตสังคม (Psychosocial factors)
2.1 ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic Theory)
2.2 ทฤษฏีทางด้านจิตวิทยา (Psychological Theory)
2.3 ทฤษฏีทางด้านสังคมวิทยา (Sociocultural Theory)
2.4 การถือแบบอย่าง (Modelling)
วิธีการบำบัดทางการพยาบาล
การประเมินความเสี่ยงของผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง
1.1 ประวัติการมีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงของบุคคลน้ัน
1.2 การได้รับการวนิจการเจ็บป่วยของบุคคลน้ัน
1.3 พฤติกรรมในปัจจุบันของบุคคลน้ัน
ด้านคำพูด เช่น พูดจาถากถางผู้อื่น พูดคุกคามผู้อื่น พูดมาก พูดเสียงดัง
ด้านพฤติกรรม เช่น ขบกราม หน้านิ่วคิ้วขมวด จ้องมองด้วยความโกรธ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงที่จะมีพฤติกรรมกา้วร้าวรุนแรงเนื่องจากมีประวตัิพฤติกรรมกา้วร้าวรุนแรง
มีพฤติกรรมทา ร้ายตนเองหรือผอู้ื่นเนื่องจากมีประวตัิพฤติกรรมกา้วร้าวรุนแรง
มีพฤติกรรมหงุดหงิดกา้วร้าวไม่เหมาะสมเนื่องจากขาดทกัษะการควบคุมอารมณ์
การวางแผนและการปฏิบัติการพยาบาล
การช่วยเหลือที่ดีที่สุด คือการจัดการกับอารมณ์โกรธก่อนที่บุคคลนั้นจะแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง
3.1.1 สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดใหผู้ป่วยเกิดความรู้สึกไว้วางใจรู้สึกปลอดภัยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
3.1.2 ฟังอย่างตั้งใจ(Active Listening) เปิดโอกาสให้ได้พูดระบายถึงความรู้สึกไม่พอใจออกมารับฟังโดยไม่ขัดจังหวะไม่ตำหนิไม่โต้แย้งหรือไม่แก้ตัวให้กับบุคคลใดขณะที่บุคคลนั้น พูดถึงสิ่งต่างๆในทางลบ
3.1.3 เมื่อความโกรธลดลงให้บุคคลนั้น สำรวจถึงสาเหตุที่ทำให้รู้สึกโกรธไม่พอใจเพื่อให้บุคคลดังกล่าวตระหนักถึงอารมณ์ที่เกิดขึ้น
3.1.4 จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการออกแรงเพื่อปลดปล่อยพลังงานส่วนเกินที่เกิด จากความกดดันความโกรธเช่น ดนตรี ออกกำลังกาย(การชกกระสอบทราย)
3.1.5 ให้คำแนะนำถึงวิธีการจัดการกับความโกรธในทางที่เหมาะสมจะสามารถแนะนำได้นกรณีที่บุคคลน้นมีภาวะอารมณ์ปกติ
6.3 ผู้ที่มีพฤติกรรมรุนแรง
วิธีการบำบัดทางการพยาบาล
ประเมินสภาพผู้ที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง
ประเมินอาการและการแสดงที่เป็นสัญญาณของพฤติกรรม
ประเมินการเปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกและอารมณ์อย่างเฉียบพลัน
พยาบาลควรมีท่าทีที่เป็นมิตร สงบ และให้เกียรติเพื่อให้เกิดความรู้สึกไวว้างใจ
3.การวางแผนและการปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง
จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัยรวมทั้งลดสิ่งกระตุ้นจากสิ่งแวดล้อม โดยลดเสียงดัง ลดแสงสว่าง ลดการที่มีคนพลุกพล่าน เพื่อลดสิ่งคุกคามความรู้สึกผู้ป่วย