Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 แนวคิดหลักการพยาบาลในการดูแลสุขภาพครอบครัวที่มีภาวะเสี่ยงและมีปัญห…
บทที่ 1 แนวคิดหลักการพยาบาลในการดูแลสุขภาพครอบครัวที่มีภาวะเสี่ยงและมีปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย
สุขภาพครอบครัว
การทำหน้าที่ของครอบครัว ภาวะสุขภาพดีของครอบครัว รวมทั้งสุขภาพทางกายของสมาชิกในครอบครัว
ครอบครัวเข้มแข็ง บุคคลตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป ดาเนินชีวิตร่วมกันอย่างมีจุดหมาย มีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน สามารถดารงอยู่ได้ด้วยการพึ่งพาตนเอง พร้อมที่จะเกื้อกูลสังคมและคนรอบข้างปรับตัวได้ในสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลง
ครอบครัวอบอุ่น หมายถึง กลุ่มบุคคลที่มีความผูกพันกันทางอารมณ์และจิตใจ ในการดาเนินชีวิตร่วมกันอย่างมีจุดหมายในบรรยากาศที่สงบสุขด้วยการทาหน้าที่ของครอบครัวได้อย่างเหมาะสมและมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน
ครอบครัวสุขภาพดี อาจจะเป็นสุขภาพครอบครัว หรือลักษณะของครอบครัวที่มีความเข้มแข็งครอบครัวทีมีภาวะสมดุล ในการทาหน้าที่และดูแลทุกช่วงชีวิตของทุกคนในครอบครัวได้อย่างเหมาะสมและเพียงพอ
แนวคิด มุมมองต่อการ
พยาบาลครอบครัวมี ๔ แบบ
แบบที่ ๑ ครอบครัวเป็นบริบท (Family as Context)
แบบที่ ๒ ครอบครัวเป็นผู้รับบริการ (Family as Client) เป็นการมุ่งเน้นที่การดูแลครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
แบบที่ ๓ ครอบครัวเป็นระบบ (Family as System)เป็นการมุ่งเน้นระบบทั้งครอบครัว การมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกัน
และกันของสมาชิกในครอบครัวในเชิงระบบ
แบบที่ ๔ ครอบครัว เป็นองค์ประกอบของสังคม (Family as Component Society) เป็นการมุ่งเน้นที่มองครอบครัวว่าเป็นองค์ประกอบของสังคมซึ่งในสังคม
มีหลายสถาบัน
ทฤษฎีในการดูแลสุขภาพครอบครัว
ทฤษฏีโครงสร้าง หน้าที่ (Structural-Functional theory) เน้นการทาความเข้าใจกับพื้นฐานของสมาชิกแต่ละคน
ทฤษฎีระบบครอบครัว (Family Systems Theory)
ทฤษฎีพัฒนาการของครอบครัว (Family Development Theory)
ทฤษฎีวงจรชีวิตครอบครัว (Family Development Theory) ครอบครัวมีการเจริญเติบโตและพัฒนา เริ่มต้นจากการตั้งครอบครัวและจบลงด้วยการจากไปของสมาชิก
ระยะที่ ๑ ระยะเริ่มต้น (Stage 1 Beginning Families)
ระยะที่ ๒ ระยะเด็ก (Childbearing families ) เด็กที่อายุมากที่สุดมากว่า ๓๐ เดือน
ระยะที่ ๓ ระยะครอบครัวที่มีเด็กวัยก่อนเรียน ( เด็กที่มีอายุมากที่สุด ๒ ๕ ปี ) (Families with preschool children )
ระยะที่ ๔ ระยะครอบครัวที่มีเด็กวัยเรียน (เด็กที่มีอายุมากที่สุด (๖– ๑๓ ปี ) (Families with school children )
ระยะที่ ๕ ระยะครอบครัวที่มีเด็กวัยรุ่น (เด็กอายุ ๑๔ – ๒๐ ปี) (Families with teenagers)
ระยะที่ ๖ ครอบครัววัยผู้ใหญ่ตอนต้น (Families launching young adults)
ระยะที่ ๗ ครอบครัวระยะกลาง (จนถึงเกษียณ) (Middle-aged parents)
ระยะที่ ๘ ครอบครัวระยะเกษียณและวัยสูงอายุ (family in retirement and old age)
ทฤษฏีนิเวศมานุษยวิทยา (Human Ecology Theory)
ทฤษฎีทางการพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับครอบครัว
ทฤษฎีระบบของนิวแมน (Neuma’s System Model)
แบบจาลองระบบเปิดของคิง (King”s Open Systems Model)
ทฤษฏีการดูแลตนเองของโอเร็ม (Dorathea Orem’s Self-Care Theory)
แบบจาลองการปรับตัวของรอย (Roy’s Adaptation Model)
บทบาทของพยาบาลครอบครัว (Family Nursing Roles)
เป็นที่ปรึกษา (Consultant)
เป็นผู้ให้คาปรึกษา (Counselor)
เป็นผู้พิทักษ์สิทธิ์ (Family Advocate)
เป็นผู้จัดการ (Case Manager)
เป็นผู้ให้บริการ (Deliver)
เป็นนักวิจัย (Researcher)
เป็นผู้ประสานงาน (Coordinator)
เป็นผู้สอนหรือให้ความรู้ (Health Teacher)
กระบวนการพยาบาลครอบครัว
3.ขั้นการวางแผนการพยาบาลครอบครัว เป็นร่วมกันพิจารณาออกแบบวางแผนครอบครัวร่วมกันทั้งบุคคลภายในครอบครัวและผู้ที่เกี่ยวข้อง
4.ขั้นการปฏิบัติการตามแผนการพยาบาลครอบครัว เน้นการส่งเสริมให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการทากิจกรรมดำเนินการแก้ไชปัญหาร่วมกัน
2.ขั้นการวินิจฉัย จาแนกปัญหาทั้งในระดับบุคคลและครอบครัว อาจเชื่อมโยงถึงชุมชนโดยวิเคราะห์ประวัติครอบครัว ประวัติส่วนบุคคล พฤติกรรมเสี่ยง และสัมพันธภาพ
ขั้นการประเมินผลการปฏิบัติการพยาบาลครอบครัว
1.ขั้นการประเมินปัญหา และความต้องการของครอบครัว โดยการรวบรวมข้อมูลทั้งจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ เช่น Family genogram, Family ecomap
การยุทธศาสตร์การพัฒนาครอบครัว พ.ศ. พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒๕๖๔
ยุทธศาสตรที่ ๑ พัฒนาศักยภาพของครอบครัว
๑) ครอบครัวมีศักยภาพ และสัมพันธภาพที่ดี สามารถทาบทบาทหน้าที่ได้อย่างเหมาะสม
๒) สมาชิกของครอบครัวมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา คุณธรรม และจริยธรรม มีภูมิคุ้มกัน และสามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงได้ดีขึ้น
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ สร้างหลักประกันความมั่นคงของครอบครัวเป้าหมาย ครอบครัวมีหลักประกันความมั่นคงทุกด้านตามเกณฑ์ที่กำหนด
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การบริหารจัดการที่เอื้อต่อความเข้มแข็งของครอบครัว
เป้าหมาย ระบบการบริหารจัดการด้านครอบครัวที่เป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายทางสังคมเพื่อพัฒนาครอบครัว
เป้าหมาย เครือข่ายทางสังคมทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการดาเนินงานเพื่อพัฒนาครอบครัวอย่างต่อเนื่อง และเป็นรูปธรรม
ยุทธศาสตร์ที่ ๕ พัฒนากระบวนการสื่อสารสังคมเพื่อพัฒนาครอบครัวเป้าหมายมีกระบวนการสื่อสารสังคมที่มีคุณภาพและสร้างสรรค์ ครอบครัวรู้เท่าทันสื่อ
ปัญหาเกี่ยวกับครอบครัว
๑) ความยากจนและหนี้สิน
๒) การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
๓) ความรุนแรงในครอบครัว
๔) สัมพันธภาพและการสื่อสารในครอบครัว
๕) การอบรมเลี้ยงดูบุตร
๖) เด็กและผู้สูงอายุถูกทอดทิ้ง