Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 แนวคิด หลักการพยาบาลในการดูแลสุขภาพครอบครัวที่มีภาวะเสี่ยงและมีปัญ…
บทที่ 1 แนวคิด หลักการพยาบาลในการดูแลสุขภาพครอบครัวที่มีภาวะเสี่ยงและมีปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย
สุขภาพครอบครัว
หมายถึง กลไกการเปลี่ยนแปลงของภาวะสุขภาพ
ทางชิวภาพ
ทางจิตใจ
ทางจิตวิญญาณ
ทางสังคม
ทางวัฒนธรรม
ครอบครัวเข้มแข็ง หมายถึง บุุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ดำเนินชีวิตร่วมกันอย่างมีจุดหมาย มีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน
ครอบครัวอบอุ่น หมายถึง กลุ่มบุคคลที่มีความผูกพันกันทางอารมณ์และจิตใจ
ครอบครัวเสี่ยง
หมายถึง ครอบครัวที่ประกอบด้วยสามีและภรรยา หรือบุคคลที่อยู่ร่วมกันที่มีปัจจัยภายในตัวบุคคลของคนใดคนหนึ่งหรือทั้งคู่และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมของครอบครัว
เสี่ยงต่อการเกิดปัญหาความรุนแรงในครอบครัว
แนวคิดในการดูแลสุขภาพครอบครัวที่มีภาวะเสี่ยง
ครอบครัวเป็นบริบท (Family as Context)
ครอบครัวเป็นผู้รับบริการ (Family as Client)
ครอบครัวเป็นระบบ (Family as System)
ครอบครัวเป็นองค์ประกอบของสังคม(Family as Component Society)
ทฤษฎีการดูแลครอบครัวที่มีปัญหา/ภาวะเสี่ยง
ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่(structural-Functional theory)
ทฤษฎีระบบครอบครัว(family Systems Theory)
ทฤษฎีพัฒนาการครอบครัว(Family Development)
ทฤษฎีทางการพยาบาล
แบบจำลองระบบเปิดของคิง
ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเร็ม
ทฤษฎีระบบของนิวแมน
แบบจำลองการปรับตัวของรอย
ทฤษฎีวงจรชีวิตครอบครัว(Family Development Theory)
ทฤษฎีนิเวศมานุษยวิทยา(Human Ecology theory)
บทบาทของพยาบาลครอบครัว
เป็นผู้สอนหรือให้ความรู้ (health Teacher)
เป็นผู้ประสานงาน(Coordinator)
เป็นผู้ให้บริการ (Deliver)
เป็นที่ปรึกษา (Consultant)
เป็นผู้จัดการ(Case Manager)
เป็นผู้พิทักษ์สิทธิ์(Advocate)
เป็นนักวิจัย(Researcher)
เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง(Change leader)
เป็นนักระบาดวิทยา(Epidemiologist)
เป็นผู้ปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อม( Environment modifier)
เป็นผู้แนะแนว(Counselor)
สถานการณ์ครอบครัวไทย
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร
อิทธิพลของสื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ
การเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดล้อม
นางสาวธิราภรณ์ เฝ้าทรัพย์ เลขที่ 37 (603101037)