Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 แนวคิด หลักการพยาบาลในการดูแลสุขภาพครอบครัวที่มีความเสี่ยงและมีปัญ…
บทที่ 1 แนวคิด หลักการพยาบาลในการดูแลสุขภาพครอบครัวที่มีความเสี่ยงและมีปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย
ความหมาย
ครอบครัวเข้มแข็ง หมายถง บุคคลตั้งแต่๒ คนขึ้นไป ดำเนินชีวิตร่วมกันอย่างมีจุดหมาย มีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน ร่วมกันแก้ไขจนลุล่วงไปได้ด้วยดี
ครอบครัวอบอุ่น หมายถึง กลุ่มบุคคลที่มีความผูกพันกันทางอารมณ์และจิตใจ ดำเนินชีวิตอย่างมีจุดหมาย มีการทำหน้าที่ที่เหมาะสม
สุขภาพครอบครัว
(Hanson) หมายถึง กลไกการเปลี่ยนแปลงของภาวะสุขภาพ ซึ่งทั้งทางชีวภาพ ทางจิตใจ ทางจิตวิญญา ทางสังคม และปัจจัยทางวัฒนธรรมของสมาชิกแต่ละบุคคลและทั้งหมดของระบบครอบครัว
(WHO) หมายถึง การร่วมกัน ของคุณลักษณะของคน พฤติกรรม ลักษณะทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจและสังแวดล้อม
ครอบครัวสขภาพดี หมายถึง ลักษณะของครอบครัวที่มีความเข้มแข็งการทำหน้าที่และดูแลทุกช่วงชีวิตของทุกคนในครอบครวได้เหมาะสมและเพียงพอ
ปัญหาครอบครัว (Family Problems) หมายถึง ภาวะที่ไม่เป็นไปตามปกติที่เกิดขึ้นภายในครอบครัว
ครอบครัวเสี่ยง หมายถึง ครอบครัวที่มีแนวโน้มเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาความรุนแรงในครอบครว
สาเหตุที่เสี่ยงต่อการเกิดปัญหา หมายถึง เหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่แสดงให้เห็นถึงความเสี่ยงที่ทำให้เกิดปัญหาความรุนแรงในครอบครัวข
แนวคิดในการดูแลสุขภาพครอบครัวที่มีภาวะเสี่ยง และมีปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย
แบบที่ 2 ครอบครัวเป็นผู้รับบริการ (Family as Client)
ex.การถามว่าการกินยาตอนกลางคืนของคุณมีปัญหากับสมาชิกในครอบครัวหรือเปล่า หรือใครในครอบครัวคุณที่ตัดสินใจเรื่องการรักษาของคุณ
มุ่งเน้นที่การดูแลครอบครัวเป็นศูนย์กลาง โดยการประเมินสมาชิกทั้งหมดของครอบครัว
แบบที่ 3 ครอบครวเป็นระบบ (Family as System)
ex.ระหว่างคุณและคู่ของคุณมีการเปี่ลยนแปลงอย่างไรหลังจากที่ลูกของคุณได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานตั้งแต่เด็ก
มุ่งเน้นระบบทั้งครอบครัว การมีปฏิสัมพันธซึ่งกันและกันของสมาชิกในครอบครัวในเชงิระบบ
แบบที่ 1 ครอบครัวเป็นบริบท (Family as Context)
ex.การถามว่าใครในครอบครัวคุณที่จะช่วยใหุ้คณได้รับยาในตอนกลางคืน หรือ คุณจะทำอย่างไรในการดูแลลูกเมื่อกลับจากการผ่าตัด
มุ่งเน้นที่การประเมินและการดูแลผู้รับบริการเป็นส่วนบุคคล โดยให้ครอบครัวเป็นบริบท
แบบที 4 ครอบครัวเป็นองค์ประกอบของสังคม (Family as Component Society)
ex.ถามว่ามีประเด็นอะไรเกิดขึ้นในครอบครัวตั้งแต่คุณทำให้โรงเรียนต้องระวังเกี่ยวกับลูกชายของคุณที่่ได้ัรบการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเอดส์
มุ่งเน้นที่มองครอบครัวว่าเป็นองค์ประกอบของสังคม
ทฤษฎีในการดูแลสุขภาพครอบครัวที่มีภาวะเสี่ยง และมีปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย
ทฤษฎีวงจรชีวิตครอบครัว (Family Development Theory)
ระยะที่ 5 ระยะครอบครัวที่มีเด็กวัยรุ่น (เด็กอายุ14 – 20 ปี) (Families with teenagers)
ระยะที่ 4 ระยะครอบครัวที่มีเด็กวัยเรียน (เด็กที่มีอายุ6– 13 ปี) (Families with school children )
ระยะที่ 6 ครอบครัววัยผู้ใหญ่ตอนต้น (Families launching young adults)
ระยะที่ 7 ครอบครัวระยะกลาง (จนถึงเกษียณ) (Middle-aged parents)
ระยะที่ 3 ระยะครอบครัวที่มีเด็กวัยก่อนเรียน ( เด็กที่มีอายุ 2-5 ปี) (Families with preschool children )
ระยะที่ 2 ระยะเด็ก (Childbearing families )
ระยะที่ 8 ครอบครัวระยะเกษยณและวัยสูงอายุ (family in retirement and old age)
ระยะที่ 1 ระยะเริ่มต้น (Stage 1 Beginning Families)
ทฤษฎีพัฒนาการของครอบครัว (Family Development Theory)
ทฤษฏีนิเวศมานุษยวิทยา (Human Ecology Theory)
ทฤษฎีทางการพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับครอบครัว
แบบจำลองระบบเปิดของคิง (King”s Open Systems Model)
ทฤษฎีระบบของนิวแมน (Neuman’s System Model)
ทฤษฏีการดูแลตนเองของโอเร็ม (Dorathea Orem’s Self-Care Theory)
แบบจำลองการปรับตัวของรอย (Roy’s Adaptation Model)
ทฤษฎีระบบครอบครัว (Family Systems Theory)
ทฤษฏีโครงสร้าง – หน้าที่ (Structural-Functional theory)
หลักการพยาบาลในการดูแลสุขภาพครอบครัวที่มีภาวะเสี่ยงและมีปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย
บทบาทของพยาบาลครอบครว (Family Nursing Roles)
-
ผู้ให้บริการ (Deliver)
ผู้พิทักษ์สิทธ์(Family Advocate)
ผู้ประสานงาน (Coordinator)
ที่ปรึกษา (Consultant)
ผู้สอนหรือให้ความรู้ (Health Teacher)
ผู้ให้คำปรึกษา (Counselor)
ผู้จัดการ (Case Manager)
นักวิจัย (Researcher)
ผู้ร่วมงาน (Collaborator)
ผู้ปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อม (Environment modifier)
ผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change leader)
สถานการณ์และปัญหาสุขภาพของครอบครัวที่มีภาวะเสี่ยง และมีปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย
ปัญหาเกี่ยวกับครอบครัว
3) ความรุนแรงในครอบครัว
4) สัมพันธภาพและการสื่อสารในครอบครัว
2) การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
5) การอบรมเลี้ยงดูบุตร
1) ความยากจนและหนี้สิน
6) เด็กและผู้สูงอายุถูกทอดทิ้ง
7) ปัญหาอบายมุข การพนัน บุุหรี่ เหล้า สารเสพติดในครอบครัว
สถานการณ์ครอบครัวไทย
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
อิทธิพลของสื่อเทคโนโลยีและสารสนเทศ
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดล้อม
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของประชากร
กระบวนการพยาบาลครอบครัว
การวางแผนการพยาบาล (Nursing Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Nursing Implementation)
การวินิจฉัยการพยาบาล (Nursing Diagnosis)
การประเมินผลการพยาบาล (Nursing Evaluation)
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health Assessment)
Family genogram, Family ecomap, แบบประเมินด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านอารมณ์และสังคม ด้านสัมพันธภาพในครอบครัว และด้านสิ่งแวดล้อม +
วิสัยทัศนการพัฒนาสถาบันครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔
ยุทธศาสตรที่ 3 การบริหารจัดการที่เอื้อต่อความเข้มแข็งของครอบครัว ุ
เป้าหมาย ระบบการบริหารจัดการด้านครอบครัวที่เป็นรูปธรรมและตื่อเนอง
แนวทาง
การพัฒนาศักยภาพกลไกและบุคลากรที่ทำงานด้านครอบครัว
การพัฒนากฎหมาย กฎ ระเบัยบ และข้อบังคับเกี่ยวกับครอบครัวให้มีความทันสมัยและเหมาะสม
การพัฒนาการบริหารจัดการการทำงานด้านครอบครัวอย่างเป็นระบบ
การส่งเสริมและพัฒนางานวิชาการด้านครอบครัว
ยุทธศาสตรที่ 4 ส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายทางสังคมเพื่อพัฒนาครอบครัว
แนวทาง
การสร้างและผลักดันเครือข่ายทางสังคมทุกรูปแบบ ในการขับเคลื่อนการพัฒนาครอบครัวอย่างต่อเนื่อง
เป้าหมาย เครือข่ายทางสังคมทุกภาคสวนมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน
ยุทธศาสตรที่ 2 สร้างหลักประกันความมั่นคงของครอบครัว
เป้าหมาย ครอบครัวมีหลักประกันความมั่นคงทุกด้านตามเกณฑ์ที่กำหนด
แนวทาง
การส่งเสริมความมั่นคงด้านเศรษฐกิจของครอบครัวตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การส่งเสริมวินัยการออมในครอบครัว
การสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม มีบรรยากาศการเรียนรู้และความปลอดภัยสำหรับครอบครว
การส่งเสริมให้มีการจัดสัวสดิการครอบครัวขั้นพื้นฐานที่เหมาะสม
ยุทธศาสตรที่ 5 พัฒนากระบวนการสื่อสารสังคมเพื่อพัฒนาครอบครัว
แนวทาง
การส่งเสริมการผลิตสื่อและช่องทางสื่อการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาครอบครัวเข้มแข็ง
การพัฒนากระบวนการใช้สื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ร่วมกันของครอบครัว
การพัฒนากลไกและส่งเสริมการบังคับใช้กฎหมายด้านสื่อให้มีประสิทธิภาพ
เป้าหมาย มีกระบวนการสื่อสารสังคมที่มีคุณภาพและสร้างสรรค์ครอบครัวรู้เท่าทันสื่อ
ยุทธศาสตรที่ 1 พัฒนาศักยภาพของครอบครัว
เป้าหมาย ครอบครัวมีศักยภาพ และสมพนธภาพที่ดีสามารถทำบทบาทหน้าที่ได้อยางเหมาะสม มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
แนวทาง
ส่งเสริมให้ครอบครัวดำเนินชีวิตโดยยึดมั่นในหลักคุณธรรมและจริยธรรม
ส่งเสริมให้ครอบครัวดำเนินชีวิตตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถพึ่งพาตนเองได้
ส่งเสริมให้ครอบครัวมีกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน มีสัมพันธภาพที่ดี และทำบทบาทหน้าที่ได้เหมาะสม