Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างแบรนด์ (Branding) (กระบวนการสร้างตราสินค้า (ขั้นตอนที่ 4…
การสร้างแบรนด์ (Branding)
แบรนด์ (Brand) หรือ ตราสินค้า
ชื่อ เงื่อนไข รูปลักษณ์ สัญลักษณ์ เครื่องหมายต่างๆ ที่รวมกันแล้วสามารถทำให้สินค้าแตกต่างไปจากสินค้าอื่นๆ ห
กระบวนการสร้างตราสินค้า
ขั้นตอนที่ 3 ปฏิบัติการสร้างตราสินค้า (Branding Implementation)
3.2) ปฏิบัติการสร้างตราสินค้าในเชิงจิตวิทยา
3.1) ปฏิบัติการสร้างตราสินค้าในเชิงปฏิบัติการ
ขั้นตอนที่ 4 การบริหารความสัมพันธ์กับตราสินค้า (Customer-Brand Relationship)
2) ทัศนคติที่ต่อตราสินค้าอย่างแนบแน่น (Attitudinal Attachment)
3) ความรู้สึกร่วมร่วมในการสื่อสารระหว่างลูกค้าและตราสินค้า (Sense of Communication)
1) พฤติกรรมการซื้อหรือใช้ที่มีความภักดีต่อตราสินค้า (Behavioral Loyalty)
4) ความผูกพันที่แน่นแฟ้นต่อกันระหว่างลูกค้าและตราสินค้า (Active Engagement)
ขั้นตอนที่ 2 การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย (Target Market Segmentation)
2.1) การแบ่งกลุ่มเป้าหมายย่อยทางการตลาด (Market Segmentation)
2.2) เลือกกลุ่มเป้าหมายย่อยทางการตลาด (Target Market)
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการสร้างตราสินค้า (Brand Evaluation)
ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ตราสินค้า (Brand Analysis)
1.2) การวิเคราะห์คู่แข่ง (Competitor Analysis)
1.3) การวิเคราะห์ตราสินค้าของตนเอง (Self - Analysis)
1.1) การวิเคราะห์กลุ่มผู้บริโภค (Consumer Analysis)
กลยุทธ์การสร้างตราสินค้า
กลยุทธ์ที่ 2 การใช้สื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ (Integrated Marketing Communication: IMC)
กลยุทธ์ที่ 3 การใช้การสร้างความสัมพันธ์ (Relationship) ระหว่างตราสินค้ากับผู้บริโภค
การทำให้ตราสินค้ามีความสัมพันธ์ฉันท์เพื่อน (Friendship) กับผู้บริโภค
การสร้างจุดติดต่อ (Brand Contact Point)
กลยุทธ์ที่ 1 การใช้กระบวนการสร้างตราสินค้าเป็นกลยุทธ์โดยตัวสินค้าเอง
การสร้างความแตกต่างให้กับตราสินค้า (Differentiation)
การสร้างคุณค่าของตราสินค้า ให้มีมากยิ่งขึ้น (Brand Value Added)
การประเมินสถานการณ์ปัจจุบัน
ออกแบบตราสินค้า
แนวคิดการตั้งชื่อสินค้า หรือ แบรนด์ (Brand) หรือ ตราสินค้า
ตัวสินค้า: ใช้จุดแข็ง หรือคุณสมบัติเด่น หรือความแตกต่างนำมาใช้เป็นชื่อ
กลุ่มลูกค้า: กลุ่มลูกค้าของสินค้าที่จะตั้งชื่อนั้น อยู่ในระดับใด บน กลาง ล่าง
อารมณ์ หรือ เหตุผล: การสื่อสารทางอารมณ์หรือเหตุผลต่อลูกค้าเป็นสำคัญ
แนวทางการตั้งชื่อสินค้า หรือแบรนด์ (Brand)
ซ้ำ หรือสั้น: สั้นเกินไปอาจจะห้วน ไม่น่าจำหรือจำยากเพราะความสับสน
ลักษณะคำและความหมาย: ข้อนี้ค่อนข้างกว้าง อาจมีข้อควรระวังเรื่องคำ
ความยาว: ชื่อที่ยาวเกินไป จะจดจำได้ยาก
นายพงศกร นาคดี 613110070-3 PH sec 2