Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 แนวคิด หลักการการพยาบาลครอบครัว
ที่มีภาวะเสี่ยงและมีปัญห…
บทที่ 1 แนวคิด หลักการการพยาบาลครอบครัว
ที่มีภาวะเสี่ยงและมีปัญหาสุขภาพ
(นายธนภัทร คบหมู่ 603101031)
- สุขภาพครอบครัว หมายถึง การรวมกันของคุณลักษณะของคน พฤติกรรม ลักษณะทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม รวมถึงการทำหน้าที่ของคนในครอบครัวที่นำไปสู่ภาวะสุขภาพดีของครอบครัว
- ครอบครัวเข้มแข็ง หมายถึง บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ดำเนินชีวิตร่วมกันอย่างมีจุดหมาย มีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน พร้อมที่จะเกื้อกูลสังคมและคนรอบข้าง ปรับตัวได้ในสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลง และร่วมกันแก้ไขจนลุล่วงไปได้ด้วยดี
- ครอบครัวอบอุ่น หมายถึง กลุ่มบุคคลที่มีความผูกพันกันทางอารมณ์และจิตใจ ดำเนินชีวิตร่วมกันอย่างมีจุดหมาย มีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างสงบสุขและมั่นคง
- ครอบครัวสุขภาพดี หมายถึง การที่บุคคลในครอบครัวทำหน้าที่ของตนเองได้เป้นอย่างดี และมีการดูแลซึ่งกันและกันในทุกช่วงชีวิตของทุกคนในครอบครัวได้อย่างเหมาะสมและเพียงพอ
- ปัญหาครอบครัว (Family problems) หมายถึง ภาวะที่ไม่เป็นไปตามปกติที่เกิดขึ้นภายในครอบครัว เช่น ความขัดแย้งระหว่างพ่อกับแม่ พี่กับน้อง พ่อกับลูกหรือแม่กับลูก ปัญหาความสัมพันธ์ ความไม่เข้าใจกัน เป็นต้น
- ครอบครัวเสี่ยง หมายถึง บุคคลที่อยู่ร่วมกันที่มีปัจจัยภายในตัวบุคคลของคนใดคนหนึ่งหรือทั้งคู่ และปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมของครอบครัวที่มีแนวโน้มเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาความรุนแรงในครอบครัว
- มุมมองต่อการพยาบาลครอบครัว
-
-
7.3 ครอบครัวเป็นระบบ (Family as System) คือ การประเมินและการดูแลผู้รับบริการเป็นส่วนบุคคลแต่ทุกคนในครอบครัวมีส่วนรวมในการดูแลผู้รับบริการคนนั้นๆ
7.4 ครอบครัวเป็นองค์ประกอบของสังคม (Family as component Society) คือ การประเมินและการดูแลองค์ประกอบของสังคมที่มีผลต่อครอบครัวโดยตรง
- ทฤษฎีในการดูแลสุขภาพครอบครัวที่มีภาวะเสี่ยงและมีปัญหาสุขภาพ
8.1 ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่ (Structural-Functional Theory) เน้นการทำความเข้าใจกับพื้นฐานของสมาชิกแต่ละคน เช่น การปกป้องสมาชิก การสืบพันธุ์ เศรษฐกิจและสังคม และการรักษาภาวะสุขภาพ
8.2 ทฤษฎีระบบครอบครัว (Family Systems Theory) ครอบครัวคือการรวมกันทั้งหมดไม่ใช่แต่ละส่วน โดยยึด ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่ (Structural-Functional Theory) มาเป็นแนวคิดในการมอง
8.3 ทฤษฎีพัฒนาการครอบครัว (Family Development Theory) เป็นการมองการเปลี่ยนแปลงแต่ละช่วงของชีวิตของการเป็นครอบครัว (พัฒนาการของครอบครัวของ Duvalll and Miller)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
8.5 ทฤษฎืทางการพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับครอบครัว เช่น King’s Open Systems Model, Neuma’s System Model, Dorathea Orem’s Self-Care Theory และ Roy’s Adaptation Model
- การพยาบาลครอบครัว หมายถึง กระบวนการการให้บริการ ดูแลสุขภาพตามความต้องการของครอบครัวภายในขอบเขตของการปฏิบัติทางการพยาบาล
-
11.1 ขั้นการประเมินปัญหาและความต้องการของครอบครัว
โดยรวบรวมข้อมูจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ
และประเมินจากภาพใหญ่ของครอบครัวทั้งหมด
วิเคราะห์ประวัติครอบครัว ประวัติาส่วนบุคคล พฤติกรรมเสี่ยง
และสัมพันธภาพ
11.2 ขั้นการวินิจฉัย จำแนกปัญหาทั้งในระดับบุคคลและครอบครัว
โดยวิเคราะห์ประประวัติครอบครัว ประวัติาส่วนบุคคล
พฤติกรรมเสี่ยง และสัมพันธภาพ กำหนดประเด็นปัญหา
ทั้งส่วนบุคคลและครอบครัวที่มีผลกระทบเกิดขึ้น
-
11.4 ขั้นการปฏิบัติการตามแผนการพยาบาลครอบครัว เน้นการส่งเสริมให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในดำเนินการแก้ไขปัญหาร่วมกัน
11.5 ขั้นการประเมินผลการปฏิบัติการพยาบาลครอบครัว ประเมินผลร่วมกันกับครอบครัว หากไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ควรมีการวางแผนพัฒนาร่วมกันอย่างต่อเนื่อง
- เครื่องมือประเมินครอบครัว
-
-
-
-
-
-
-
-
- การวินิจฉัยปัญหาครอบครัว (NANDA Nursing Diagnoses Relevant to family Nursing)
-
-
-
-
-
-
-
14.1 การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของประชากร ประชากรวัยเด็กมีจำนวนและสัดส่วนลดลงและ
ประชากรวัยสูงอายุมีจำนวนและสัดส่วนเพิ่มขึ้นและมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆ
14.2 การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
การเปิดประเทศสู่ประชาคมอาเซียน
ส่งผลกระทบต่อองค์ประกอบ
และสัมพันธภาพของครอบครัว
14.3 การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ความหลากหลายทางวัฒนธรรมทำให้สังคมเป็นแบบปัจเจกชนและแยกส่วนมากขึ้น ทำให้คนเห็นแก่ตัวมากขึ้น เชื่อมั่นในตัวเอง ดำรงชีวิตแบบโดดเดี่ยว และใช้ชีวิตตามวิถีสุขนิยม
14.4 อิทธิพลของสื่อ เทคโนโลยีและสารสนเทศ
มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนปลงพฤติกรรมของคนในสังคม
โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนอาจเกิดพฤติกรรมการเลียนแบบ
สื่อ เทคโนโลยีและสารสนเทศที่มีความก้าวร้าวรุนแรง
14.5 การเปลี่ยนแปลงทางสิ้งแวดล้อม
การเปลี่บนแปลงทางสิ่งแวดล้อม บางครอบครัวอาจจะต้องอพยพ
ไปทำงานต่างพื้นที่เพื่อหารายได้มาเลี้ยงครอบครัว ทำให้เกิดการแยกกันอยู่ของคนในครอบครัว ซึ่งอาจก่อให้เกิดปัญหาครอบครัว การดูแลบุตรหลานไม่ใกล้ชิด ซึ่งอาจทำให้เกิดปัญหาสังคมตามมา
-
- วิสัยทัศน์การพัฒนาสถาบันครอบครัว พ.ศ. 2560-2564
-
-
-
-
-