Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการช่วยเหลือผู้ที่ปัญห่ทางจิตสังคม…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการช่วยเหลือผู้ที่ปัญห่ทางจิตสังคม
ผู้ที่มีพฤติกรรมไม่เป็นมิตร (Hostility)
ลักษณะของผู้ที่มีพฤติกรรมไม่เป็นมิตร
มีพฤติกรรมการทำลาย
มีทัศนคติที่ถูกสะสมมาเรื่อย ๆ
ความไม่เป็นมิตรมักจะพุ่งตรงต่อบุคคลหรือกลุ่มคน
มีความต้องการที่มักจับจ้องจะทำลาย
มีแต่ความเกลียดชัง อิจฉา ริษยา
ความรู้สึกสูญเสียความมีคุณค่าในตนเอง
เป็นความรู้สึกที่เป็นปรปักษ์
มักจะไม่แสดงผงเท่ากับความก้าวร้าว
ความไม่เป็นมิตรมักจะเป็นผมมาจากความก้าวร้าว
เป็นปฏิกิริยาตอบสนองที่รุนแรงซับซ้อน
สาเหตุและกลไกทางจิต
1.ความไม่เป็นมิตรมักถูกปลูกฝังตั้งแต่วัยทารกเมื่อมีสิ่งคุกคามทางจิตใจ
บุคคลไม่สามารถแสดงออกถึงความคับข้องใจได้
3.สิ่งแวดล้อมหรือบุคคลอื่นมีอิทธิพลที่ส่งผลให้บุคคลเรียนรู้ที่จะเก็บซ่อนความคิด ความรู้สึก ข่มคาวมขมขื่น
4.เก็บสิ่งที่ตนเองต้องการเอาไว้และเกิดความคับข้องใจของตนเอง
5.บุคคลรับรู้การมีคุณต่าในตนเองต่ำเกิดการสะสมความคับข้องใจในตนเองมากขึ้น
6.ความไม่เป็นมิตรขะถูกเก็บซ่อนไว้และแอบแฝงติดตัวเป็นลักษณะนิสัยของบุคคลนั้น
7.เมื่อเกิดเหตุคุกคามทางจิตใจบุคคลนั้นมักจะรู้สึกผิดหวังและเจ็บปวดมาก รู้สึกสูญเสียคุณค่าในตนเอง จนไม่สามารถทนได้ จนเกิดความวิตกกังวลอย่างมาก ซึ่งจะแสดงความเป็นมิตรออกมาอย่างเปิดเผย หรือแอบกดความรู้สึกนั้นเอาไว้
วิธีการบำบัดทางการพยาบาล
วิธีการบำบัดทางการพยาบาล
ผู้ที่มีพฤติกรรมไม่เป็นมิตร (Hostility)
การประเมินปัญหา
ด้านคำพูด เช่น การพูดกระทบกระเทือน ส่อเสียด ดูถูก
ข่มขู่ โต้แย้ง และอาจรุนแรงถึงการดุด่า พูดจาชวนทะเลาะ
ด้านพฤติกรรม เช่น ท่าทีเฉยเมยต่อต้าน เงียบ เชื่องช้า ไม่ยอมสบตา เดินหนี บางรายมักจะแสดงพฤติกรรมรุนแรง เช่น ทำร้ายร่างกายผู้อื่น ทำลายสิ่งของ หรือบางรายอาจแสดงพฤติกรรมแอบแฝง เช่น ทำตัวอ่อนหวาน น้อมน้อมเกินไป เป็นต้น
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายเช่น ความดันโลหิตสงู
ชีพจรเต้นเร็ว หายใจถี่ขึ้น กล้ามเนื้อเกร็ง ผิว แดง คลื่นไส้
อาเจียน ปากแห้ง คอแห้ง เหงื่ออกตามร่างกาย เป็นต้น
วิธีการบำบัดทางการพยาบาล
ผู้ที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว (Aggression)
การประเมินความเสี่ยง
1.ประวัติการมีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงของบุคคลนั้น
2.การได้รับการวินิจการเจ็บป่วยของบุคคลนั้นเช่น โรคจิตเภท การติดสารเสพติด เป็นต้น
3.พฤติกรรมในปัจจุบันของบุคคลนั้น เช่น มีความก้าวร้าวมากน้อยในระดับใด สังเกตได้จากพฤตกรรมที่ สัมพันธ์กับความก้าวร้าวรุนแรง
ด้านคำพูด เช่น พูดจาถากถางผู้อื่น พดูคกุคามผู้อื่น พูดมาก พูดเสียงดัง ตะโกนเสียงดัง มี คำพูดแสดงถึงความกลัว เป็นต้น
ด้านพฤติกรรม เช่น ขบกราม หน้านิ่วคิ้วขมวด จ้องมองด้วยความโกรธ หน้าแดง ท่าทาง ระมดัระวังตนเองสูง เป็นต้น
วิธีการบำบัดทางการพยาบาล
ผู้ที่มีพฤติกรรมรุนแรง (Violence)
ประเมินสภาพผู้ที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง
โดยประเมินระดับความรุนแรงของพฤติกรรม
1.ประเมินอาการและการแสดงที่เป็นสัญญาณของ
พฤติกรรมเช่นการแสดงออกทางสีหน้าทิ้งตึง
แววตาไม่เป็นมิตรการเคลื่อนไหวกระวนกระวายอยู่นิ่งไม่ได้
2.ประเมินการเปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกและอารมณ์อย่างเฉียบพลันและการศึกษาประวัติจากญาติเกี่ยวกับพฤติกรรมในอดีตมีหรือไม่อย่างไร
พยาบาลควรมีท่าที่ที่เป็นมิตรสงบและให้เกียรติเพื่อให้เกิดความรู้สึกไว้วางใจ
สิ่งที่พยาบาลควรตระหนักเกี่ยวกับท่าทางในระหว่างให้การพยาบาลผู้ที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว เพราะท่าทางของพยาบาลอาจก่อให้เกิดพฤติกรรมรุนแรงของผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น
ผู้ที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว (Aggression)
ลักษณะของผู้ที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว
พฤติกรรมก้าวร้าวทางคำพูด : ใช้คำพดูตำหนิ ติเตียน วิพากษ์วิจารณ์ พูดในแง่ร้าย เสียงดัง ขู่ ตะคอก เอะอะอาละวาด วางอำนาจ วาจาหยาบคาย
พฤติกรรมก้าวร้าวแสดงออกทางร่างกาย :
มีสีหน้าบึ้งตึง แววตาไม่เป็นมิตร ท่าทางไม่พอใจ
กระวนกระวาย อยู่ไม่นิ่ง ไม่สนใจเรื่องการกิน
การนอน การขับถ่าย แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ
พฤติกรรมก้าวร้าวทำร้ายคนอื่น หาเรื่องวิวาททำร้าย และละเมิดสิทธิผู้อื่น โดยการกัด การตี การผลัก และ การใช้อาวุธทำร้ายคนอื่นให้ได้รับบาดเจ็บ
พฤติกรรมก้าวร้าวทำร้ายตนเอง เช่น การหยิกข่วนตนเอง การใช้มีดกรีดข้อมือตนเอง การดึงผม จุดไฟเผา ตนเอง การฆ่าตัวตาย เป็นต้น
พฤติกรรมก้าวร้าวทำลายสิ่งของ ได้แก่ ทุบทำลายสิ่งของเครื่องใช้ ทุบกระจก จุดไฟเผา ปิดประตูเสียงดัง
พฤติกรรมก้าวร้าว
แบ่งออกเป็น 4 รูปแบบ
การกระทำต่อบุคคลหรือสิ่งของที่เป็นต้นเหตุ
ขัดขวางความต้องการ
การกระทำต่อบุคคลหรือสิ่งของที่คล้ายคลึงกับต้นเหตุ
การกระทำต่อบุคคลหรือสิ่งของอื่น ๆ ที่มลีกัษณะต่างจากต้นเหตุ พฤติกรรมนี้พบได้บ่อย ๆ ในชีวิตประจำวัน
กระทำต่อตนเอง บุคคลที่พยายามฆ่าตัวตายเพื่อหนีปัญหาในชีวิต เป็นต้น
ความหมาย
พฤติกรรมการแสดงที่เกิดจากอารมณ์โกรธ วิตกกังวล รู้สึกผิด
คับข้องใจ มีจุดมุ่งหมายที่จะคุกคามหรือทำให้ผู้อื่นได้รับบาดเจ็บ
หรือสิ่งแวดล้อมได้รับความเสียหาย อาจจะทั้งคำพูดหรือการกระทำ
สาเหตุการเกิดพฤติกรรมก้าวร้าว
ปัจจัยทางด้านชีวภาพ
(Biological factors)
ระดับความผิดปกติของสารเคมีในสมอง เช่น serotonin, dopamine และ norepinephrine เพิ่มหรือลดลง การได้รับ อุบัติเหตุทางศีรษะ และ การมีเนื้องอกกที่สมอง เป็นต้น
การเจ็บป่วยด้วยโรคทางร่างกาย เช่น ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ และโรคสมองเสื่อม เป็นต้น
ปัจจัยด้านจิตสังคม
(Psychosocial factors)
1.ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic Theory)
2.ทฤษฎีทางด้านจิตวิทยา (Psychological Theory)
3.ทฤษฎีทางด้านสังคมวิทยา (Sociocultural Theory)
4.การถือแบบอย่าง (Modelling)
ผู้ที่มีพฤติกรรมรุนแรง (Violence)
พฤติกรรมรุนแรง หมายถึง การใช้คำพูด พฤติกรรมคกุคามที่มีผลทำให้คนอื่นตกใจกลัว (Threaten) มีพฤติกรรมตั้งใจที่จะทำร้ายผู้อื่น พยายามจะใช้กำลังและอาวุธทำร้ายคนอื่น (Attempt) และมีการใช้กำลัง หรือ อาวุธทำร้ายคนอื่น (Actual)
การวางแผนและการปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วย
ที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง
1.จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัยรวมทั้งลดสิ่งกระตุ้นจากสิ่งแวดล้อมลดเสียงดังลดแสงสว่างลดการที่มีคนพลุกพล่านเพื่อลดสิ่งคุกคามความรู้สึกผู้ป่วย
2.ตรวจค้นผู้ป่วยไม่ให้มีสิ่งขอลที่อาจใช้เป็นอาวุธได้
3.ดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยขณะพฤติกรรมก้าวร้าวตามระดับความรุนแรง
4.ลดความรู้สึกถูกคุกคามโดยการเรียกชื่อผู้ป่วยและพูดคุยกับผู้ป่วยด้วยน้ำเสียงอ่อนโยน
5.ไม่ตำหนิใช้คำถามปลายเปิดให้ผู้ป่วยได้ระบายความไม่พอใจและให้วิจารณ์ได้แม้เป็นความรู้สึกในทางลบ
6.ให้ยาตามแผนการรักษาและรายงานแพทย์ในรายที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงมากขึ้น
7.ในกรณีที่ผู้ป่วยที่มีพฤติก้าวร้าวรุนแรงเพิ่มมากขึ้นอาจจะต้องมีการจำกัดพฤติกรรม (Limit setting) การใช้ห้องแยก (Seclusion) การผูกมัดร่างกาย (Physical restrain) และการให้ยาตามแผนการรักษาของแพทย์เพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงเป็นต้น
8.หลังจากที่ผู้ป่วยมีอากรสงบพยาบาลควรเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้พูดระบายความรู้สึกเพื่อช่วยลดความโกรธและความกังวลและพยาบาลควรบอกถึงสาเหตุที่ต้องผูกยึดไว้และการยุติการผูกยึดให้ผู้ป่วยทราบทุกครั้ง
9.พยาบาลควรให้คำแนะนำเกี่ยวกับวิธีจัดการกับอารมณ์ความโกรธออกไปในทางที่เหมาะสม
นางสาวปิยะนันท์ พรมพินิจ เลขที่34 ห้องA