Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รปศ. (ทฤษฎีองค์การ (ตัวแบบระบบเปิด (งานไม่ต้องเป็นงานประจำ,…
รปศ.
ทฤษฎีองค์การ
เป็นกิจกรรมรวมหมู่ที่มีเป้าหมายและซับซ้อน
เป็นความสัมพันธ์ทุติยภูมิ
มีจุดมุ่งหมายเฉพาะและจำกัด
เป็นกิจกรรมความร่วมมือ
ถูกผนวกเข้ากับสังคมที่ใหญ่กว่า
ให้บริการและผลิตสินค้าแก่สังคม
อาศัยการแลกเปลี่ยนกับสภาพแวดล้อมองค์การ
พื้นฐานสำคัญ
การมีจุดมุ่งหมาย
การแบ่งงานกันทำตามความชำนาญเฉพาะด้าน
การมีโครงสร้าง
ตัวแบบระบบปิด
ความรู้และเทคนิคการรบริหาร
ความสัมพันธ์เป็นแนวดิ่ง
การติดต่อสื่อสารเป็นการสั่งการ
เน้นความจงรักภักดีกับเจ้านาย
สถานภาพตำแหน่งอย่างเป็นทางการ
ตัวแบบระบบเปิด
งานไม่ต้องเป็นงานประจำ
ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
เน้นเป้าหมายมากกว่าวิธีการ
ความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมงานมากกว่าการสั่งการ
เน้นเป้าหมายร่วมขององค์การ
มีสำนึกรับผิดชอบและจงรักภักดีต่อองค์กร
องค์การมีโครงสร้างเป็นเครือข่าย
ความเชี่ยวชาญมีอยู่ทุกฝ่าย
ความสัมพันธ์เป็นแนวราบ
เน้นการแนะนำมากกว่าการสั่งการ
ชื่อเสียงจากองค์การมาจากความเป็นมืออาชีพ
เน้นความสำเร็จและความยอดเยี่ยมของงาน ม
การคลังสาธารณะ
การจัดเก็บรายได้
บทบาทของรัฐในระบบเศรษฐกิจ
การจัดเก็บภาษีที่ดี
หลักความยุติธรรม
หลักความประหยัด
หลักความแน่นอน
หลักความเสมอ
เหตุผลที่ต้องเรียกเก็บภาษี
เพื่อควบคุมการบริโภค
เพื่อส่งเสริมการลงทุน
การกระจายรายได้
รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
การจัดการภาครัฐแนวใหม่
การปรับเปลี่ยนการบริหาร
บริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์
การบริหารงานแบบมืออาชีพ
เหตุผลที่นำภาครัฐแนวใหม่มาใช้
กระแสโลกาภิวัตน์
ระบบราชการไทยมีปัญหา
ความเสื่อมถอย
ขาดธรรมาภิบาล
แนวทางในการบริหารจัดการ
ให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน
เพิ่มอิสระในการบริหาร
ให้รางวัลแก่ผลการดำเนินงาน
สนับสนุนในด้านบุคลากร
เปิดกว้างต่อแนวคิด
แนวคิดการบริหาร
จัดการโดยนักวิชาชีพ
มีมาตรฐาน
เน้นการควบคุมผลผลิต
แยกหน่วยงานออกเป็นหน่วยย่อยๆ
ให้แข่งขันกันมากขึ้น
เน้นการจัดการตามแบบภาคเอกชน
ใช้ทรัพยากรอย่างมีวินัยและประหยัด
จริยธรรมข้าราชการ
หลักปรัชญา
ปรัชญาเจตจำนงเสรี
ปรัชญาความยุติธรรม
ปรัชญาประโยชน์นิยม
ปรัชญาเจตจำนงเสรี
ปรัชญาความยุติธรรม
ปรัชญาว่าด้วยสิทธิ
ปรัชญาสัญญาประชาคม
ปรัชญาการเห็นอกเห็นใจ
ด้านการบริหาร
เน้นการมอบอำนาจหน้าที่
เน้นการเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาที่เคร่งครัด
การจงรักภักดีต่อองค์การ
การจงรักภักดีต่อองค์การ
สร้างระบบวินัย
สร้างการตรวจสอบภายใน
ด้านการเมือง
สร้างการควบคุมจากสภานิติบัญญัติ
สร้างการควบคุมงบประมาณ
สร้างการหมุนเวียนตำแหน่ง
สร้างการมีส่วนร่วมของตัวแทน
เผยแพร่ข้อมูลสาธารณะ
สร้างช่องทางในการตรวจสอบ
หาแนวทางป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน
ด้านกฎหมาย
สร้างกลไกทางกฎหมาย
การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
การบริหารงานบุคคล
การสรรหา
การคัดเลือก
การฝึกอบรม
การบริหารค่าจ้างเงินเดือน
ในยุคปัจจุบันมุ่งเน้น
สมรรถนะของบุคลากร
เทคโนโลยี
แรงงานทักษะ
ปัจจัยแวดล้อม
กระบวนการ
การวางแผนทรัพยากรมนุษย์
การจัดหาบุคคลเข้าทำงาน
การจัดหาบุคคลเข้าทำงาน
การฝึกอบรมและการพัฒนา
การบริหารค่าตอบแทน
การประเมินผลพนักงาน
การรักษา
ทิศทางและแนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์
อนาคตภาครัฐจะมีการเปลี่ยนแปลง
รวมตัวกันเป็นสหภาพ
เน้นการประเมินผลและประสิทธิภาพ
เพิ่มระดับความชำนาญเฉพาะด้าน
แนวโน้มที่สำคัญ
เปลี่ยนตามกระแสโลกภิวัฒน์
เปลี่ยนกระบวนการ
เปลี่ยนระบบงบประมาณ
ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์
ปรับปรุงโครงสร้างบริหาร
สร้างระบบบริหาร
อนาคตนัก รปศ.
เป็นนักจัดการองค์การ
เป็นผู้นำที่เข้าใจพฤติกรรมการบริหาร
เป็นผู้วิเคราะห์ปัญหาองค์การ
เป็นนักการเมือง
เป็นนักวิเคราะห์นโยบาย
เป็นผู้ตัดสินใจอย่างเป็นวิทยาศาสตร์
เป็นผู้เชี่ยวชาญระหว่างประเทศ
เป็นนักปฏิรูป
นโยบายสาธารณะ
ความหมาย
เป็นกิจกรรมหรือการกระทำของรัฐบาล
เป็นแนวทางเลือกสำหรับการตัดสินใจของรัฐบาล
เป็นแนวทางในการกระทำของรัฐบาล
การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
ตัวแบบชนชั้นนำ
ตัวแบบดุลยภาพระหว่างกลุ่ม
ตัวแบบเชิงระบบ
ตัวแบบสถาบัน
ตัวแบบกระบวนการ
ตัวแบบหลักเหตุผล
ตัวแบบการเปลี่ยนแปลงจากเดิมบางส่วน
การกำหนดนโยบายสาธารณะ
การก่อตัวของนโยบาย
การเตรียมเสนอร่างนโยบายสาธารณะ
การอนุมัติและประกาศเป็นนโยบายสาธารณะ
การยุตินโยบาย
การล้มเลิกนโยบาย/แผนงาน/โครงการ
การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบและการบริหาร
การเมืองเปรียบเทียบ
เน้นศึกษาวิเคราะห์
สนใจกับสิ่งที่เรียกว่าพัฒนาและด้อยพัฒนา”
พฤติกรรมของคนในระบบราชการ
อธิบายยุทธศาสตร์ในการบริหาร
ความสัมพันธ์การเมืองกับการบริหาร
การบริหารเปรียบเทียบ
การขยายการศึกษาการบริหารแบบดั้งเดิม
การศึกษาการพัฒนา
การศึกษาการพัฒนา
การสร้างตัวแบบระบบทั่วไป
การสร้างทฤษฎีระดับกลาง
การบริหารการพัฒนารุ่นบุกเบิก
อนุพงษ์ อนุดิลกไพศาล 036 ห้อง 23/33