Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 แนวคิด หลักการพยาบาลในการดูแลสุขภาพครอบครัวที่มีภาวะเสี่ยง…
บทที่ 1 แนวคิด หลักการพยาบาลในการดูแลสุขภาพครอบครัวที่มีภาวะเสี่ยง และมีปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย
สุขภาพครอบครัว
องค์การอนามัยโลก (WHO, 2008) : การรวมกันของคุณลักษณะของคน พฤติกรรม ลักษณะทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
มุมมองต่อการพยาบาลครอบครัว มี 4 แบบ
แบบที่ 2 ครอบครัวเป็นผู้รับบริการ (Family as Client) มุ่งเน้นที่การดูแลครอบครัวเป็นศูนย์กลาง โดยการประเมินสมาชิกทั้งหมดของครอบครัว
แบบที่ 3 ครอบครัวเป็นระบบ (Family as System) มุ่งเน้นระบบทั้งครอบครัว การมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกันของสมาชิกในครอบครัวเชิงระบบ
แบบที่ 4 ครอบครัวเป็นองค์ประกอบของสังคม (Family as Component Society) มุ่งเน้นมองครอบครัวว่าเป็นองค์ประกอบของสังคม เช่น วัด โรงเรียน เพื่อนบ้าน
แบบที่ 1 ครอบครัวเป็นบริบท (Family as Contex) เป็นการเน้นที่ภาวะส่วนบุคคล มุ่งเน้นการประเมินและการดูแลส่วนบุคคล
บทบาทพยาบาลครอบครัว
ผู้ให้ความรู้ทางสุขภาพ ผู้สอนสุขศึกษา
(Health Educator)
ผู้ประสานงาน (Coordinator)
ผู้พิทักษ์สิทธิ์ (Advocator)
ผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change leader)
ผู้แนะแนว (Counselor)
ที่ปรึกษา (Consultant)
ผู้ดูแลและนิเทศในการดูแลร่างกาย
(Deliver and supervisor of physical care)
ผู้ร่วมงาน (Colllaborator)
ผู้ปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อม
(Environment modifier)
ผู้วิจัย (Researcher)
นักระบาดวิทยา (Epidemiologist)
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสถาบันครอบครัว
พัฒนาศักยภาพของครอบครัว
สร้างหลักประกันความมั่นคงของครอบครัว
การบริหารจัดการที่เอื้อต่อความเข้มแข็งของครอบครัว
ส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายทางสังคมเพื่อพัฒนาครอบครัว
พัฒนากระบวนการสื่อสารสังคมเพื่อพัฒนาครอบครัว
เครื่องมือประเมินครอบครัว
แผนภูมิครอบครัว (Genogram)
แผนที่ระบบนิเวศ (Ecogram)
แบบประเมินความแข็งแรงของครอบครัวตนเอง
แบบประเมินสัมพันธภาพภายในครอบครัว
ประวัติการเจ็บป่วยครอบครัว
แบบแผนสุขภาพ
เครื่องมือประเมินตามวัย
เครื่องมือประเมินทางด้านจิตใจ
ปัญหาเกี่ยวกับครอบครัว
ความยากจนและหนี้สิน
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ความรุนแรงในครอบครัว
สัมพันธภาพและการสื่อสารในครอบครัว
การอบรมเลี้ยงดูบุตร
เด็กและผู้สูงอายุถูกทอดทิ้ง
อบายมุข การพนัน บุหรี่ เหล้า สารเสพติด
ทฤษฏีในการดูแลสุขภาพ
ทฤษฏีโครงสร้าง-หน้าที่
(Structural-Function theory)
เน้นการทำความเข้าใจพื้นฐานของสมาชิกแต่ละคน
ทฤษฎีระบบครอบครัว
(Family System Theory)
มองครอบครัวเป็นระบบ ได้แก่ โครงสร้างและหน้าที่
ทฤษฏีพัฒนาการของครอบครัว
(Family Development Theory)
มองการเปลี่ยนแปลงแต่ละช่วงของชีวิตการเป็นครอบครัว
ทฤษฏีนิเวศมานุษยวิทยา
(Human Ecology Theory)
เน้นให้ความสำคัญกับบริบทสังคมที่มีผลต่อการพัมนามนุษย์
ทฤษฏีทางการพยาบาล
ทฤษฎีระบบของนิวแมน : ภาวะเครียดและปฏิกิริรยาต่อภาวะเครียด บทบาทพยาบาล คือ ปรับสมดุลครอบครัว
แบบจำลองการปรับตัวของรอย : ระบบของการปรับตัวต่อสิ่งกระตุ้น พยาบาลต้องประเมินปัจจัยชักนำหรือทำให้ครอบครัวตอบสนองต่อการปรับตัว
ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเร็ม : การช่วยบุคคลตอบสนองต่อความต้องการการดูแลตวเองทั้งหมด
แบบจำลองระบบเปิดของคิง : พยาบาลมีบทบาทเป็นหุ้นส่วนของครอบครัว (partners) มีการตั้งเป้าหมายร่วมกัน
ทฤษฏีทางวงจรชีวิครอบครัว
(Family Development Theory)
ระยะที่ 1 ระยะเริ่มต้น (Stage 1 Beginning Families)
ระยะที่ 3 ระยะครอบครัวมีเด็กวัยก่อนเรียน อายุ 2-4 ปี (Families with preschool children)
ระยะที่ 4 ระยะครอบครัวมีเด็กวัยเรียน อายุ 6-13 ปี (Families with school children)
ระยะที่ 5 ระยะครอบครัวมีเด็กวัยรุ่น อายุ 14-20 ปี (Families with teenagers)
ระยะที่ 6 ครอบครัววัยผู้ใหญ่ตอนต้น
(Families launching young adults)
ระยะที่ 7 ครอบครัวระยะกลาง จนเกษียณ
(Middle-aged parents)
ระยะที่ 8 ครอบครัวระยะเกษียณและวัยสูงอายุุ (family in retirement and old age)
ระยะที่ 2 ระยะเด็ก (Childbesring families)
เด็กที่อายุมากที่สุดมากกว่า 30 เดือน
กระบวนการพยาบาลครอบครัว
Assessment
Nursing diagnosis
Planning
Implementation
evaluation
นางสาวนิภาพร จันทร์ศรี 603101045