Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีโรคร่วม กับการตั้งครรภ์ (โรคหัวใจ…
บทที่ 3 การดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีโรคร่วม
กับการตั้งครรภ์
ระบบทางเดินปัสสาวะ
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ
ให้ยาลดไข้
อาการและอาการแสดง
การพยาบาล
แนะนำให้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ประเมินสัญญาณชีพ มีไข้ เช็ดตัวลดไข้
นับลูกดิ้น
รักษาความสะอาด
ไม่กลั้นปัสสาวะ
แนะน าทานอาหารตามปกติ เพิ่มโปรตีน เกลือแร่ โดยเฉพาะวิตามินซีและธาตุเหล็ก
ดื่มน้ าเพียงพอไม่น้อยกว่า 8-10 แก้ว/วัน
ปัสสาวะแสบขัด กระปริประปรอย ขุ่น
ปวดท้อง ปวดบั้นเอวข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้ง 2 ข้าง
มีไข้สูง หนาวสั่น T 34-40 ˚C ร่วมกับอาการปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวด เมื่อยกล้ามเนื้อ
เบาหวานขณะตั้งครรภ์
การพยาบาล
ระยะหลังคลอด
การติดตามหลังคลอด
การดูแลทารกแรกเกิด
ภายหลังรกคลอด ระดับฮอร์โมนจากรกจะลดลงทำให้อินซูลินทำงานได้มากขึ้น
การคุมกำเนิด
ระยะคลอด
ติดตามระดับน้ำตาลทุก 1-2 ชั่วโมง ให้สารน้ำและอินซูลินตามระดับน้ำตาล
38-40 สัปดาห์
ระยะตั้งครรภ์
ติดตามสุขภาพทารกในครรภ์ โดยการนับลูกดิ้นและประเมิน NST
รักษาความสะอาดร่างกาย
ติดตามการใช้ยาฉีดอินซูลิน
ออกกำลังกายแบบ aerobic
กระจายมื้ออาหาร
แนะนeเป้าหมายการควบคุมระดับน้ำตาล
การตรวจคัดกรอง
เสี่ยงต่ำ
ไม่มีญาติสายตรงเป็น เบาหวาน
ไม่มีประวัติ GDM และ การคลอดไม่พึงประสงค์
ไม่มีประวัติความผิดปกติ ของเมตาบอลิซึม
อายุน้อยกว่า 25 ปี
BMI <25
ปานกลาง
ทารกพิการแต่ก าเนิด ทารกตายคลอด โดยไม่ ทราบสาเหตุ
เคยคลอดทารก BW ≥4000 กรัม
อายุมากกว่า 25 ปี
BMI 25-26
เสี่ยงสูง
ตั้งครรภ์แฝดน้ำ
เคยเป็นDM/ญาติ
พบน้ าตาลในปัสสาวะ
BMI >27
พยาธิสภาพ
ทารกได้รับพลังงานจากแม่ผ่านทางรกจึงจะมีระดับกลูโคสเท่าในเลือดแม่
รกสร้างฮอร์โมน HPL, prolactin, cortisol, glucagon เพิ่มขึ้น
ในช่วงไตรมาสที่ 2 และ 3 ทารกมีความต้องการพลังงานมากขึ้น
ระยะแรกของการตั้งครรภ์ ฮอร์โมน estrogen และ progesterone จากรกจะกระตุ้น beta cell ของตับอ่อน ให้มีการหลั่ง insulin เพิ่มขึ้น
โรคหัวใจ
การดูแล/การพยาบาล
หลังคลอด
แนะนำการปฏิบัติตัวหลังคลอด
ประเมินและป้องกันภาวะตกเลือดหลังคลอด
ประเมินสัญญาณชีพ และอาการ+อาการแสดงภาวะหัวใจล้มเหลว
จัดนอนท่า semi fowler’s position
ระวังการเกิดภาวะช็อกและหัวใจล้มเหลว
ระยะเจ็บครรภ์และคลอดบุตร
บรรเทาความเจ็บปวด
ติดตามความก้าวหน้าการคลอด
ประเมินสัญญาณชีพทุก 15 นาที ถ้า P>100 ครั้ง/min RR>24ครั้ง/min BP<100/60 mmHg รายงานแพทย์และให้ O2 cannula 5-10 L/min
ประเมินอาการและอาการแสดงภาวะหัวใจล้มเหลว
เฝ้าระวังการเกิดภาวะหัวใจล้มเหลว
จัดนอนท่า fowler’s หรือ semirecumbent
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำอาการที่ต้องมาโรงพยาบาล
หัวใจเต้นเร็ว
บวมมากขึ้น
ไอเป็นเลือด
หอยเหนื่อย
ทำงานบ้านน้อยลง
ลดอาหารพวกแป้ง
แนะนำการพักผ่อน
อธิบายสตรีตั้งครรภ์และครอบครัวเข้าใจพยาธิสภาพของโรค
เฝ้าระวังภาวะหัวใจวายเนื่องจากปริมาณเลือดที่เพิ่มขึ้น
ระยะก่อนตั้งครรภ์
ประเมินจากแพทย์ว่าสามารถตั้งครรภ์ได้อย่างปลอดภัยหรือไม่
ผลของโรคหัวใจต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อทารก เสี่ยงแท้ง คลอดก่อนกำหนด
เสี่ยงภาวะหัวใจล้มเหลวในทุกระยะของการตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
หอบเหนื่อย (dyspnea)
นอนราบไม่ได้ (orthopnea)
หายใจลำบากตอนกลางคืน (paroxysmal nocturnal dyspnea)
ส่วนใหญ่เป็นโรคหัวใจรูห์มาติค
ระบบไหลเวียน
GA 8 สัปดาห์ ปริมาณเลือดเพิ่มขึ้น 40-45%
GA 20-24 cardiac output เพิ่มขึ้น 43 %
ในช่วงเจ็บครรภ์และเบ่งคลอด cardiac output เพิ่มสูงอีก60-80%
หลังคลอดมดลูกไม่ได้กดเบียดเส้นเลือด vena cava จะทeให้เพิ่ม cardiac out มากขึ้นอีก
ความรุนแรงของโรคหัวใจ
Class I ไม่มีอาการ ทำงานได้ ไม่เหนื่อย
Class II ขณะพักไม่เหนื่อย มีอาการเมื่อทำงานมากกว่าปกติหรือออกกกำลังกาย ทำให้มีอาการ เช่น หอบเหนื่อย หรือเจ็บหน้าอก
Class III ขณะพักจะไม่รู้สึกเหนื่อย แต่จะรู้สึกเหนื่อยมากแม้เมื่อทำกิจกรรมตามปกติ
Class IV ผู้ป่วยมีอาการมาก ไม่สามารถมีกิจกรรมได้
โรคเลือด (anemia, thalassemia, Rh incompatible)
Thalassemia
Hb H disease (α-thal1/α-thal2 หรือ - - / -α, or α-thal1/ Hb CS หรือ - - /αCSα) ส่วนใหญ่มีอาการน้อย
Homozygous β-thalassemia (β thalassemia major) ภาวะนี้ไม่ก่อให้เกิดการซีด ในครรภ์หรือหลังคลอด
Hb bart’s hydrop fetalis หรือ Homozygous α thalassemia 1 เป็นชนิดที่ รุนแรงที่สุด
ะซีดที่เกิดจากความผิดปกติของการสร้างเม็ดเลือดแดง
ภาวะ Hemolytic disease of newborn
ภาวะ Rh incompatibility
แนวทางการป้องกัน/ดูแลรักษา
กรณีทารกมีภาวะตัวเหลืองจากเม็ดเลือดแตก พิจารณา phototherapy หรือถ่ายเลือด
ให้ Anti-D แก่มารดา Rh-negative
ภาวะ ABO incompatibility
เกิดจาก IgG anti-A หรือ anti-B antibody ผ่านรกและไปทำลายเม็ดเลือดแดง
เป็นภาวะที่เลือดแม่สร้าง antibody ผ่านรกไปยังทารกและเกิดการทำลายเม็ดเลือดแดงของทารก
ภาวะโลหิตจาง
นางสาวณีรนุช หมอสุยะ 603901017 เลขที่ 16