Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การวินิจฉัยทารกในครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง (การเจาะเนื้อรก (chorionic…
บทที่ 2 การวินิจฉัยทารกในครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง
การเจาะน้ำคร่ำ (amniocentesis)
อายุครรภ์ที่เหมาะสม 16-18 สัปดาห์
ตรวจหาความผิดปกติทางโครโมโซม
ภาวะแทรกซ้อน
เจ็บบริเวณที่เจาะ
มีเลือดหรือ น้ าคร่ำออกทางช่องคลอด
มีโอกาสทารกแท้ง ตาย หรือเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด
การติดเชื้อในถุงน้ าคร่ำ
ผู้ที่มีกลุ่มเลือด Rh negative ควรแจ้งให้แพทย์ทราบก่อนเจาะ
การเจาะเลือดจากสายสะดือทารก (cordocentesis)
ตรวจวินิจฉัยโรคทารกก่อนคลอด และประเมินทารกในครรภ์ เกี่ยวกับความผิดปกติของ โครโมโซม เช่น ธาลัสซีเมีย ครรภ์แฝดน้ำ
U/S หาตำแหน่งรกและสายสะดือก่อนทำการเจาะเลือดจากสายสะดือผ่านทางหน้าท้อง
อายุครรภ์ที่เหมาะสม 16-20 สัปดาห์
ภาวะแทรกซ้อน
รกลอกตัวก่อนกำหนด
มีลิ่มเลือดกดสายสะดือ ถุงน้ำคร่ำรั่ว
เลือดออกตำแหน่งที่เจาะพบได้ร้อยละ 50 มักหยุดเองใน 60 วินาที
เสี่ยงแท้งบุตรร้อยละ 1-1.4
การติดเชื้อ
การเจาะเนื้อรก (chorionic villous sampling: CVS)
ผ่านผนังหน้าท้องและผ่านปากมดลูกของหญิงตั้งครรภ์
อายุครรภ์ที่เหมาะสม 10-13 สัปดาห์
ภาวะแทรกซ้อน
เสี่ยงแท้งบุตรร้อยละ 1
การพยาบาลก่อนทำ
อธิบายให้ทราบถึงวัตถุประสงค์
ปัสสาวะก่อนทำ
จัดท่านอนหงาย ประเมินสัญญาณชีพและเสียงหัวใจทารกก่อนทำ
การพยาบาลหลังทำ
นอนหงายกดแผลไว้ 1 นาที ใช้พลาสเตอร์ปิดแผลไว้ ฟัง FHS ทุก 15 นาที จนครบ 1 ชั่วโมง วัดสัญญาณชีพ ทุก 15 นาที 2 ครั้ง หากไม่มีอาการผิดปกติ ให้กลับบ้านได้
คำแนะนำเมื่อกลับบ้าน
นอนพักหลังเจาะ 1 วัน งดทำงานหนัก 4-5 วัน
หลีกเลี่ยงการยกของหนัก/ทำสวน 24 ชั่วโมง
ถ้ามีน้ำใสๆ ทางช่องคลอด แสดงว่าถุงน้ำคร่ำแตกให้มาพบแพทย์ทันที
งดร่วมเพศ 4-5 วัน ไม่เดินทางไกลหลังทำ 7 วัน
สังเกตลูกดิ้น ถ้าไม่ดิ้นให้มาพบแพทย์
มีเลือดออกจากรอยเจาะและทางช่องคลอด มีอาการปวดท้อง ท้องแข็ง หรือมีไข้สูง หนาวสั่น น้ำคร่ำไหลมีกลิ่นเหม็น ทารกไม่ดิ้น ให้รีบมาพบแพทย์
การตรวจด้วยสารชีวเคมี
ตรวจระดับ alpha-fetoprotein (AFP) hCG หรือ free β-hCG และ unconjugated ในเลือด
First trimester screening
เมื่ออายุครรภ์ 10-13 สัปดาห์
โดยการตรวจ NT (nuchal translucency) ร่วมกับการเจาะเลือดตรวจ beta hCG, PAPPA (pregnancy associated plasma protein A)
ประเมินร่วมกับข้อมูลของสตรีตั้งครรภ์
Secondary trimester screening
อายุครรภ์ 15-22 สัปดาห์
เจาะเลือด ตรวจ
Triple test ได้แก่ beta hCG, alpha fetoprotein (AFP), unconjugated estradiol (uE3) หรือ
Quadruple หรือ Quad test ได้แก่ beta hCG, AFP, uE3 และ dimeric inhibin-A
ประเมินร่วมกับข้อมูลของสตรีตั้งครรภ์
First and secondary trimester screening
คือการตรวจที่ใช้วิธีทั้ง 2 ไตรมาสร่วมกัน
Integrated screening และ serum integrated screening คือการตรวจ combined First trimester screening ร่วมกับการตรวจ Quad test ในไตรมาสสอง และทำการแปลผลพร้อมกัน ซึ่งพบว่ามีความไวร้อยละ 95
Sequential screening คือ การตรวจไตรมาสแรกและแปลผลก่อนเลย จากนั้นตรวจ ไตรมาสสองหรือไม่ขึ้นกับผลที่ได้รับ
Stepwise sequential คือ การตรวจไตรมาสแรกและแปลผลก่อนเลย
Contingent sequential คือการตรวจ combined first trimester
นางสาวณีรนุช หมอสุยะ 603901017 เลขที่ 16