Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)…
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานการเรียนรู้
ภาษาไทย
มี 5 สาระ
5 มาตรฐาน
สาระที่ 1 การอ่าน
มี 1 มาตรฐาน
สาระที่ 2 การเขียน
มี 1 มาตรฐาน
สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพูด
มี 1 มาตรฐาน
สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย
มี 1 มาตรฐาน
สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม
มี 1 มาตรฐาน
คณิตศาสตร์
พื้นฐาน
มี 3 สาระ
7 มาตรฐาน
สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต
มี 3 มาตรฐาน
สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
มี 3 มาตรฐาน
สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น
มี 1 มาตรฐาน
เพิ่มเติม (เฉพาะมัธยมศึกษา
ตอนปลาย แผนวิทย์)
จำนวนและพีชคณิต
การวัดและเรขาคณิต
สถิติและความน่าจะเป็น
แคลคูลัส
วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
พื้นฐาน
มี 4 สาระ
10 มาตรฐาน
สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
มี 3 มาตรฐาน
สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์ภายภาพ
มี 3 มาตรฐาน
สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มี 2 มาตรฐาน
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มี 2 มาตรฐาน
เพิ่มเติม (เฉพาะมัธยมศึกษา
ตอนปลาย แผนวิทย์)
ชีววิทยา
เคมี
ฟิสิกส์
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
มี 5 สาระ
11 มาตรฐาน
สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มี 2 มาตรฐาน
สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม
มี 2 มาตรฐาน
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์
มี 2 มาตรฐาน
สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์
มี 3 มาตรฐาน
สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
มี 2 มาตรฐาน
สุขศึกษา
และพลศึกษา
มี 5 สาระ
6 มาตรฐาน
สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
มี 1 มาตรฐาน
สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว
มี 1 มาตรฐาน
สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล
มี 2 มาตรฐาน
สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค
มี 1 มาตรฐาน
สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต
มี 1 มาตรฐาน
ศิลปะ
มี 3 สาระ
6 มาตรฐาน
สาระที่ 1 ทัศนศิลป์
มี 2 มาตรฐาน
สาระที่ 2 ดนตรี
มี 2 มาตรฐาน
สาระที่ 3 นาฏศิลป์
มี 2 มาตรฐาน
การงานอาชีพ
มี 2 สาระ
2 มาตรฐาน
สาระที่ 1 การดำรงชีวิตและครอบครัว
มี 2 มาตรฐาน
สาระที่ 2 การอาชีพ
มี 2 มาตรฐาน
ภาษาต่างประเทศ
มี 4 สาระ
8 มาตรฐาน
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร
มี 3 มาตรฐาน
สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
มี 3 มาตรฐาน
สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
มี 1 มาตรฐาน
สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
มี 2 มาตรฐาน
เอกสารหลักฐานการศึกษา
เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด
ระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.1)
ประกาศนียบัตร (ปพ.2)
แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา (ปพ.3)
เอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศึกษากำหนด
แบบแสดงผลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ปพ.4)
แบบแสดงผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน (ปพ.5)
แบบรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบุคคล (ปพ.6)
ใบรับรองผลการเรียน (ปพ.7)
ระเบียนสะสม (ปพ.8)
สมุดบันทึกผลการเรียน (ปพ.9)
ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดช่วงชั้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6)
ตัวชี้วัดชั้นปี ระดับการศึกษาภาคบังคับ (ป.1-ม.3)
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การประเมินระดับชั้นเรียน
การประเมินระดับสถานศึกษา
การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา
การประเมินระดับชาติ
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
ระดับปรถมศึกษา
ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมด
ในการตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวิชา สถานศึกษาสามารถให้ระดับผลการเรียนหรือระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียน เป็นระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบร้อยละ และระบบที่ใช้คำสำคัญสะท้อนมาตรฐาน
เกณฑ์การจบการศึกษา
ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตามโครงสร้างเวลาเรียน ที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด และต้องมีผลการประเมิน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
ระดับมัธยมศึกษา
ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมดในรายวิชานั้น ๆ
เกณฑ์การจบการศึกษา
มัธยมศึกษาตอนต้น
ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๗๗ หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน ๖๓ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า ๑๔ หน่วยกิต
ผู้เรียนมีผลการประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไม่เกิน ๘๑ หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน ๖๓ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด
มัธยมศึกษาตอนปลาย
ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม ไม่น้อยกว่า ๘๑ หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน ๓๙ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด
ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๗๗ หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน ๓๙ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม ไม่น้อยว่า ๓๘ หน่วยกิต
ผู้เรียนมีผลการประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมนักเรียน
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพีญประโยชน์ และนักศึกษาวิชาทหาร
กิจกรรมชุมนุม ชมรม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
ซื่อสัตย์สุจริต
มีวินัย
รักความเป็นไทย
มุ่งมั่นในการทำงาน
อยู่อย่างพอเพียง
ใฝ่เรียนรู้
มีจิตสาธารณะ
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
การสื่อสาร
การแก้ปัญหา
การใช้เทคโนโลยี
การใช้ทักษะชีวิต
การคิด
จุดหมาย
มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต
มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย
มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
หลักการ
เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐาน ของความเป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล
เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมีคุณภาพ
เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น
เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัด การเรียนรู้
เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์
วิสัยทัศน์
มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
ในการตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวิชา ให้ใช้ตัวเลขแสดงระดับผลการเรียนเป็น ๘ ระดับ
ตัวอย่าง 0, 1, 1.5, 2, 2.5, 3, 3.5, 4