Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการเด็ก (นโยบายการสร้างเสริมสุขภาพเด็ก…
การส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการเด็ก
ความแตกต่างระหว่างเด็กและผู้ใหญ่
ด้านลักษณะโครงสร้างและกายวิภาคได้แก่
1.1ขนาดและรูปร่าง
1.2 ศีรษะและรอยต่อของกะโหลกศีรษะศีรษะมีขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับลําตัว/รอยต่อ ทําให้มีการเพิ่มความดันได้ง่าย
1.3 กระดูกกะโหลกศีรษะและกระดูกทรวงอกอ่อนทําให้กระดูกผิดรูปได้ง่าย
1.4 หูรูดของกระเพาะอาหารส่วนบนปิดไม่สนิท และความจุของกระเพาะอาหารเล็ก ทําให้สํารอกอาเจียนได้ง่าย
1.5 Eustachian tube สั้นและตรง
ด้านสรีรวิทยาได้แก่
2.1ค่าปกติของส่วนประกอบของเลือด
2.2 ค่าสัญญาณชีพ (Vital signs) ชีพจรเร็ว หายใจเร็ว
2.3 การทําหน้าที่ของไตยังไม่สมบูรณ์
2.4 ความต้องการอาหารและน้ําตามสัดส่วนของน้ําหนักตัวมากกว่าผู้ใหญ่
2.5 การดูดซึมสารน้ําทางเส้นเลือดดําช้า ถ้าได้รับเร็วเกินไปจะเกิดอันตราย
2.6 ภาวะกรดด่างในร่างกายเกิดขึ้นได้ง่าย
2.7ความต้านทานโรคมีน้อย
2.8 ศูนย์ควบคุมความร้อนที่สมองยังไม่ดี
2.9ระบบประสาทส่วนกลางยังไม่เจริญ
2.10 กล้ามเนื้อที่ช่วยในการหายใจไม่เจริญเต็มที่
หลักการพยาบาลเด็ก
1 . การใช้ กระบวนการพยาบาลในการพยาบาล ผู้ป่วยเด็ก
1.1 การประเมินปัญหา (Assessment) จากข้อมูลด้านต่างๆของเด็กและ ครอบครัวให้ครอบคลุมทั้งด้านร่างกายจิตใจอารมณ์สังคมและพัฒนาการได้จากการสังเกต ซักถามจากเด็กและบิดามารดา
1.2 การวินิจฉัยการพยาบาล (Nursing diagnosis) การระบุปัญหาของเด็ก จากข้อมูลทุกด้านที่มีอยู่โดยแยกแยะเป็นหมวดหมู่ว่าเป็นภาวะเสี่ยง (High risk problem) หรือปัญหาที่เกิดขึ้นแล้ว (Actual problem)
1.3 การวางแผนการปฏิบัติ (Planning) เมื่อได้ระบุปัญหาหรือข้อวินิจฉัย ทางการพยาบาลแล้วจะเป็นการวางแผนกิจกรรมการพยาบาลเพื่อแก้ไขปัญหานั้น
1.4 การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation) เป็นการนําแผนกิจกรรมที่วาง ไว้ไปปฏิบัติโดยคํานึงถึงผลที่จะเกิดขึ้นกับเด็กและความปลอดภัยของเด็กด้วย
1.5 การประเมินผล (Evaluation) การประเมินผลกิจกรรมพยาบาลตาม วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หากยังคงมีปัญหาอยู่ก็ต้องมีการปรับเปลี่ยนแผนการพยาบาล
2 . บทบาทของพยาบาลเด็กในปัจจุบันพยาบาลเด็กมีบทบาท ที่ขยาย ออกไป ดังนี้ใน ปัจจุบัน
2.1 บทบาทด้านการปฏิบัติการพยาบาลโดยตรง (Direct nursing care)
2.2 การให้สุขศึกษา (Patient education) เด็กและญาติ
2.3 การปกป้องเด็ก (Patient advocate) ปกป้องสิทธิความเป็นบุคคล
2.4 การจัดการเกี่ยวกับเด็กเป็นรายกรณี (Case management) เพื่อช่วย แก้ปัญหาประสานงานกับทีมสุขภาพและวางแผนการจําหน่าย
สุขภาพเป้าหมาย การสร้างเสริม
สุขภาพที่เพิ่มขึ้น (Health gain) หรืออย่างน้อย ให้เสื่อมช้ากว่าที่ควร
คนสามารถควบคุมสุขภาพได้ด้วยตนเอง โดยใช้ แนวคิดทางสังคมเรื่อง “ การเพิ่มพลังอํานาจ”
กฎบัตรออตาวาเพื่อการเสริมสุขภาพ
การสร้างนโยบายสาธารณสุขเพอื่สขุภาพ (Build health public policy)
การสร้างสรรค์สงิ่แวดล้อมที่เออื้ต่อสขุภาพ (Create supportive environment)
การสร้างเสริมกิจกรรมชมุชนเข้มแขง็ (Strengthen community action)
การพฒันาทักษะสว่นบคุคล (Develop personal skills)
การปรบัเปลยี่นระบบบรกิารสขุภาพ (Reorient health services)
ปรัชญานําทาง “ เศรษฐกิจพอเพียงสู่สุขภาพพอเพียง” 7 ประการ
ยืดทางสายกลาง
มีความสมดุลพอดี
รู้จักพอประมาณ
การมีเหตุผล
มีระบบภูมิคุ้มกัน
รู้เท่าทันโลก
มีคุณธรรม จริยธรรม
นโยบายการสร้างเสริมสุขภาพเด็ก
เด็กทุกคนมีสิทธิทจี่ะมชีวีติรอด พัฒนาความสามารถจนเต็ม ศักยภาพ ได้รับการพทิกัษ์คุ้มครองสิทธ ิ ร่วมกจิกรรมตาม ความสามารถ
แม่ควรเวน้การมบีุตรอยา่งน้อย 2 ปี หลีกเลี่ยงการตงั้ครรภก์อ่น อายุ 20 ปี และหลังอาย ุ 35 ปี
หญิงตั้งครรภต์้องการอาหาร การพกัผ่อนการเอาใจใส่จากสามี และบุคคลรอบข้าง
เด็กควรได้รบัการดูแลสุขภาพ เอาใจใส่ ให้เกดิการเรยีนรทู้ดี่ี จากคนและสิ่งแวดล้อม
ให้นมแมอ่ยา่งเดียวใน 6เดือนแรก หลังจากนนั้ควรได้อาหาร อื่นควบคกู่บันมแม่
เด็กแรกเกดิ 6 ปี ควรได้รบัการตรวจสขุภาพและตดิตาม การเจรญิเติบโตใหเ้ป็นไปตามมาตรฐาน
เด็กทกุคนควรได้รบัวคัซีนตามกาํหนด โดยเฉพาะในขวบปี แรกหญงิกอ่นมีคคู่รองควรได้รบัวคัซีนป้องกนัหัดเยอรมนั หญิง ตั้งครรภค์วรได้รบัวคัซีนป้องกนับาดทะยัก
เด็กทเี่กดิภาวะขาดนา้ํอยา่งรนุแรงจากการถา่ยเหลว ควรให้ สารละลายนา้ํตาลเกลือแร ่ หรือยาทเี่จ้าหน้าที่สาธารณสุขแนะนาํ เท่านนั้ ไม่ควรซื้อยากนิเอง
ไม่ประมาทเมอื่เดก็เป็นหวดั สังเกตอาการหายใจเรว็ หอบ เหนื่อย เด็กอาจเป็นปอดบวมหรอืปอดติดเชื้อ ควรรบีพาไปพบ แพทย์
10.ไม่ควรให้ยงุกัด เพราะยงุเป็นพาหะของโรค มาลาเรยี ไข้เลือดออกไขส้มองอักเสบ
11.ให้ความรเู้รอื่งการป้องกันโรคเอดส์
12.สุขอนามัย และมีพฤติกรรมสุขภาพทดี่ีโดยดมื่นา้ํป้องกันการ เจ็บป่วยด้วยการรกัษาสะอาดจากแหล่งนา้ํที่ปลอดภยั ล้างมือ ก่อนและหลังรบัประทานอาหารและหลังการขับถ่าย ใช้ส้วมที่ ถูกสุขลักษณะ งดบุหร ี่ สุรา สารเสพติด การพนนั มี เพศสัมพนัธท์ี่ปลอดภยั ออกกาํลังกาย มีสติ ไม่ประมาณใน การดําเนนิชีวิต
จัดสภาพแวดลอ้มเด็กให้ปลอดภัย
ในภาวะภยัพิบัตฉิุกเฉิน ควรดูแลสุขภาพเด็ก ให้วคัซีน อาหาร เอาใจใสเ่ป็นพเิศษ
อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
สิทธิที่จะมีชวีิตอยู่รอด (Right of Survival)
1.1 สิทธิในการชีวติอยรู่อดและส่งเสรมิชีวต
1.2 ได้รับโภชนาการทดี่
1.3 ได้รับความรกัความเอาใจใส่จากครอบครัวและสงัคม
1.4 ได้รับบรกิารดา้นสุขภาพ
1.5 การใหท้กัษะชีวติที่ถกูต้อง
1.6 การใหท้อี่ยอู่าศยัและการเลยี้งดู
2.สิทธิในการปกป้องคุ้มครอง(Right of Protections)
2.1 การคมุ้ครองจากการเลือกปฏบิัติ
2.2 การลว่งละเมดิ การทาํรา้ย การกลั่นแกล้ง รังแก
2.3 การถกูทอดทิ้ง ละเลย
2.4 การลกัพาตัว
2.5 การใชแ้รงงานเด็ก
2.6 การเอารดัเอาเปรยีบทางเพศ
4.สิทธิในการมีส่วนร่วม(Right of Participation)
4.1 แสดงทศันะของเด็ก
4.2 มีเสรภีาพในการติดต่อข่าวสารข้อมูล
4.3 มีบทบาทในชุมชน
4.4 แสดงความคิดเหน็ในเรอ่ืงทผี่ลกระทบต่อเด็ก
สิทธิในการพัฒนา(Right of Development)
3.1 ได้รับการศึกษาทั้งในและนอกระบบ
3.2 เข้าถึงข่าวสารทเี่หมาะสม
3.3 มีเสรภีาพในความคดิ มโนธรรมและศาสนา
3.4 พัฒนาบุคลิกภาพ ทั้งทางสงัคมและศาสนา
3.5 พัฒนาบุคลกิภาพ ทั้งทางสังคมและจติใจ
3.6 พัฒนาสุขภาพรา่งกาย