Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีโรคร่วมกับการตั้งครรภ์ (ต่อ) (โรคติดเชื้อ…
บทที่ 3 การดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีโรคร่วมกับการตั้งครรภ์ (ต่อ)
โรคคอพอกเป็นพิษ
การวินิจฉัย
อาการและอาการแสดงที่สำคัญ
หัวใจเต้นเร็วโดยไม่รู้สาเหตุ
ต่อมไทรอยด์โต
Eating disorder รับประทานอาหารดี นน.ไม่ขึ้น
แพ้ท้องมาก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
TSH ต่ำ
T3 สูง
T4 ± อาจไม่สูงในหญิงตั้งครรภ์บางราย
ผลต่อการตั้งครรภ์
Hypothyroidism
คอพอกเป็นพิษ
ความดันโลหิตสูงระหว่างการตั้งครรภ์ หัวใจล้มเหลว
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ช้า
การรักษา
ยาต้านไทรอยด
ให้ propranolol
การพยาบาล
อธิบายพยาธิสภาพของโรค
ให้คำแนะนำเพื่อป้องกันอันตรายและภาวะแทรกซ้อน
อาหารโปรตีนสูง คาร์โบไฮเดรต และวิตามินสูง
พักผ่อน
ทานยา
ระวังอุบัติเหตุ
นับลูกดิ้น
ประเมินสภาวะทารกในครรภ์
โรคหอบหืด
อาการและอาการแสดง
หายใจลำบาก มีเสียง wheezing
ไอเรื้อรัง
หายใจลำบากต้องใช้แรงในการหายใจเพิ่มขึ้น
หายใจเร็ว ชีพจรเร็ว เหงื่อออกมาก อ่อนเพลีย ไม่สามารถคุยหรือทางอาหารได้
ปัจจัยเสี่ยง/ปัจจัยกระตุ้น
โรคประจำตัว โรคจมูกอักเสบ ไซนัสอักเสบ หอบหืด ภูมิแพ้
ประวัติญาติสายตรงเป็นหอบหืด
โรคอ้วน หรือน้ าหนักเกินเกณฑ์
รับสารก่อภูมิแพ้
ยาบางตัว
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ซักประวัติเกี่ยวกับโรคหอบหืด
แนะนำพบแพทย์เพื่อพิจารณายารักษาที่เหมาะสมขณะตั้งครรภ์
แนะนำอาหารโปรตีนสูง
ระวังสารก่อภูมิแพ้ต่างๆ
พักผ่อนให้เพียงพอ
ระยะเจ็บครรภ์คลอดและระหว่างการคลอด
จัดนอนศีรษะสูง
ประเมินความก้าวหน้าการคลอด FHR V/S
Pain management ระหว่างการเจ็บครรภ์คลอด
ดูแลให้ผู้คลอดได้รับยา corticosteroid ทางหลอดเลือดดำ
ระยะหลังคลอด
ดูแลให้รับยารักษาโรคหอบหืดอย่างต่อเนื่อง
ระวังภาวะตกเลือดหลังคลอด
ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
โรคติดเชื้อ
โรคไวรัสตับอักเสบ บี
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
คัดกรองพาหะ
เลี่ยงการใช้
ระยะคลอด
เจาะถุงน้ำและการตรวจทางาช่องคลอด
ดูดสารคัดหลั่งออกจากปาก
ดูแลให้ทารกได้รับ HBIG ตั้งแต่แรกเกิด
ระยะหลังคลอด
เลี้ยงยมแม่ได้
ตรวจตามนัด
รักษาความสะอาด
โรคหัดเยอรมัน
การพยาบาล
อธิบายวิธีป้องกัน
อธิบายให้มารดาที่สัมผัสเชื้อ
โรคสุกใส, งูสวัด (Varicella-Zoster)
การพยาบาล
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ติดตามภาวะสุขภาพทารกในครรภ์
วางแผนการคลอด
โรคเอดส์
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
แนะน ามาฝากครรภ์ตามนัดทุกครั้ง
คัดกรอง
ให้ข้อมูลการดำเนินของโรค
ให้ความรู้การควบคุมและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ติดตามผล CD4
แนะน าทานยาต้านไวรัสตามเวลา
ระยะคลอด
เลี่ยงการใช้สูติศาสตร์หัตถการ
ถ้า viral load ≤ cpm แพทย์อาจพิจารณาเจาะถุงน้ำเพื่อชักนำการคลอด
ดูแลให้ยาต้านไวรัสตามเวลา
ระยะหลังคลอด
การดูแลหลังคลอดเหมือนกับมารดาหลังคลอดปกติ
งดให้นมบุตร
แนะนำการคุมกำเนิด
โรคซิฟิลิส
การดูแลรักษา
ควรรักษาก่อนอายุครรภ์ 16 สัปดาห์
นัดฝากครรภ์เพื่อติดตามอาการตามปกติ
ถ้าพบการติดเชื้อที่ทารก
ภายหลังการรักษาผล VDRL titer ควรลดลงจากเดิม 4 เท่าหรือากกว่าภายใน 6-12 เดือน
โรคเริม
การดูแลรักษา
ระยะก่อนคลอด
ถ้าเป็นการติดเชื้อครั้งแรก ให้ยาต้านไวรัสจะช่วยลดระยะเวลาของการมีอาการ
ระยะคลอด
สามารถคลอดทางช่องคลอดได้
ระยะหลังคลอด
รายที่มีรอยโรคที่เต้านม ควรเลี่ยงการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
หูดหงอนไก่
การดูแลรักษา
Trichloracetic acid (TCA)
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
อธิบาย
ตามLAB
แนะนำปฏิบัติตัว
ระยะคลอด
ระวังตุ่ม
ป้ายตาทารกด้วย 1% terramycin ointment
ระยะหลังคลอด
แยกของใช้
เต้านมปกติดูดนมได้
ตรวจตามนัด
โรคอุบัติใหม่: โรคไวรัสโควิด-19 (COVID-19)
อาการแสดง
รไข้ อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเนื้อ ไอแห้งๆ หายใจติดขัด ส่วนน้อยคัดจมูก เจ็บคอ ไอเป็นเลือด ท้องเสีย
การดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อโรคโควิด-19
สตรีตั้งครรภ์ที่ตรวจยืนยันโรคแล้ว
ให้ประเมินว่าเป็นกลุ่มที่อาการน้อย ได้แก่ สัญญาณชีพปกติหรือ รุนแรง
บุคลากรที่ดูแลผู้ป่วย
งใส่ชุดและอุปกรณ์ป้องกัน
การดูแลที่คลินิกฝากครรภ์
ออาการน้อย ควรเลื่อนนัดฝากครรภ์
อาการปานกลางหรือรุนแรง รับไว้โรงพยาบาล
ถ้าไม่เจ็บครรภ์
ให้ความส าคัญกับสุขภาพของมารดาเป็นหลัก
ารตรวจเอกซเรย์ปอดและ/หรือเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ช่องอก
ติดตามการเต้นของหัวใจทารก
การดูแลขณะเจ็บครรภ์คลอด
เดินทางมาด้วยยานพาหนะส่วนตัว
บุคลากรที่จะดูแลผู้ป่วยต้องใส่ชุดป้องกันเต็มที่
จำกัดจำนวนบุคลากรที่ดูแลผู้ป่วยและเครื่องมือต่างๆ
แจ้งกุมารแพทย์ทราบเคส
ตรวจติดตามวัดไข้
การดูแลทารกหลังคลอด
ให้แยกทารกเข้าห้องความดันลบ
ตรวจทารกแรกเกิดทุกรายว่าติดเชื้อหรือไม่