Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีบริหารเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) - Coggle Diagram
ทฤษฎีบริหารเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)
นักบริหาร
แฟรงค์ บังเกอร์ กิลเบรธ (Frank Bunker Gillbreth)
ศึกษา
ความเบื่อหน่าบ
ผลกระทบของสภาวแวดล้อมในการทำงานที่มีต่อคนงาน
ความเคลื่อนไหว
สรุป
การทำงานด้วยการแบ่งออกตามความชำนาญเฉพาะด้านและการแบ่งงานเป็นส่วนๆ (Division of Work) จะทำได้ดียิ่งขึ้นถ้าได้มีการวิเคราะห์งานอย่างละเอียดถี่ถ้วน ในการทำงานต่อเนื่องกันเป็นระบบกระบวนการตามหลักวิทยาศาสตร์ซึ่งทำให้เกิดงานแบบประจำ (Routine)
เฟรดเดอริควินสโลว์ เทเลอร์ (Frederick winslowtaylor)
บิดาแห่งการบริหารงานเชิงวิทยาศาสตร์เชื่อว่าปัญหาที่คนทำงานไม่เต็มศักยภาพนั้นสามารถแก้ไขได้ด้วยการออกแบบงานและการจัดสิ่งจูงใจใหม่ๆ
หลักสำคัญ
มีการวางแผนแทนที่จะให้คนงานเลือกวิธีการเอง
คัดเลือกคนงานที่มีความสามารถแล้วฝึกอบรมให้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆร่วมกัน
กำหนดวิธีการทำงานทดแทนการทำแบบลองผิดลองถูก
ใช้หลักแบ่งงานกันทำระหว่างผู้บริหารและคนงาน
“ การกำหนดวิธีการทำงานที่ดีที่สุด” (One Best Way)
จากวิธีการเชิงวิทยาศาสตร์ซึ่งเรียกกันในปัจจุบันว่า“ time and motion study
เฮนรี่ แก๊นต์ (Henry L Gantt)
Gantt's Chart
Gantt's Milestone Chart
นำเอาเทคนิคการจัดตารางสำหรับการควบคุมการปฏิบัติงานมาใช้เพื่อปรับปรุงและยกระดับประสิทธิภาพในการทำงาน
ลิเลียน กิลเบรธ (Lilian Gillbreth)
ศึกษาปริญญาเอกด้านจิตวิยา ซึ่งเป็นศาสตร์ที่จะช่วยส่งเสริมงาน ด้าน Motion Studies ให้ดียิ่งขึ้น
เกิดขึ้นในช่วงที่อุตสาหกรมขยายตัวอย่างรวดเร็วมีความสลับซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้วิธีตั้งปัญหาและหาแนวทางเพื่อนำไปสู่จุดหมายที่ต้องการ