Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เวชศาสตร์ใต้น้ำ(UNDERWATER MADCINE) - Coggle Diagram
เวชศาสตร์ใต้น้ำ(UNDERWATER MADCINE)
มุ่งเน้นป้องกัน & ดูแลรักษาการบาดเจ็บจากการดำน้ำ&ตรวจสมรรถนะสุขภาพนักดำน้ำ&การดำเนินการทางอาชีวอนามัย
นักดำน้ำ
นันทนาการ(Recreational Divers)
ค.สวยงาม ทางใจ
อาชีพ(Professional Diver)
นักดำน้ำทางทหาร (Militaly divers)
นักประดาน้ำทางพาณิชย์ (Commercial Divers)
ครูสอนดำน้ำ (Diving Instructors)
นักดำน้ำกู้ภัย (Public Sefety Divers)
ชาวประมงและชาวเล (Indigenous Divers)
หวังเงิน ของรางวัล
คำจำกัดความ
เวชศาสตร์ใต้น้ำ
ศทกพ.ให้การดูแลครอบคลุมกับมนุษย์ที่อาจได้รับผลกระทบภายใต้สภาพใต้น้ำ เป้นซับเซต ของวศคดบกส.
เวชศาสตร์ความดันบรรยากาศ
ศทกพ.ให้การดูแลอย่างครอบคลุมให้กับPt.จปต.ให้การรักษาด้วยความดันบรรยากาศสูง ( Hyperbaric Therapy) รวมถึงออกซิเจนแรงดันสูง (Hyperbaric Oxygen Therapy)
ประวัติ
มนุษย์มีหลักฐานปวศ.การดำน้ำ>=4000ปีก่อนพุทธกาล ตรงและอ้อม พลเรือนและทหาร
รูปแบบพัฒนา การดำ>ระฆัง>ชุดดำน้ำรับอาการจากผิวน้ำ
ไทย
>การจับสัตว์น้ำ ลำน้ำโขง 3000-4000 ปีก่อน
ญี่ปุ่น
ญ.นักดำน้ำ Ama ดำน้ำตัวเปล่ากว่า 2000 ปีก่อน-ปจบ.
ตปท.
Toricelli (1644) ประดิษฐ์ท่อวัดความดันบรรยากาศ,
Pascal ( 1653) พบการ ปปความดันตามระดับที่สูง และสร้างกฎ"Hydrostatic"
Henchaw ( 1662) ผู้นำ ศ.นี้มาใช้ บันทึกหลักฐานครั้งแรก พ.ศ.2205 ส.ห้องผนึก"Domicilium"(แชมเบอร์ในอดีต) เชื่อมต่อกับหีบลม (Bellows)ในการรักษา โรคปจบและเรื้อรัง
Robert Boyle (1670),Joseph Priestley (1775),Paul Bert (1878),john Scott Haldane (1908) เป็นนักวิทย์ฯ ทำให้อคร.พฐ.ด้านวิทย์บริสุทย์พัฒนาขึ้นตามลำดับ
การส
.สะพานบรู๊คลิน
(Brooklyn Bridge) นิวยอi์ก
Dr.Smith
(1873) อธิบายถึง
โรคเคซอง
Caisson Disease) & คำแสลง เรียกว่า "เบนด์" (ปวดเดินลำตัวโค้งงอเดินเหมือน ญชนชั้นสูง)
๋John Scott Haldane (1908) ศึกษาลดความดันอย่างปลอดภัย ใช้แพะ เป็นสัตว์ทดลอง (แพะยกขาข้างหนึ่ง ปวดของข้อ)
YVES LE PRIEUR (1925)
พัฒนาสคูบา และลิ้นดีมานด์
,
Jacques-Yves Cousteau และ Emile Gagnan (1943) พัฒนาสคูบา เรียกว่า AQUA-lung และ ได้ปฏิบัติรูปแบบการดำน้ำในการสันทนาการ
คิดค้นตารางการรักษา
ปภ.การดำน้ำ
ตัวเปล่า(Free diving)และการดำสนอร์เกิล (snorkel)
ใช้อุปการณ์ใต้น้ำ (UBA)
สคูบา ระบบเปิด ปิด กึ่งปิด
รับอากาศจากผิวน้ำ
ฯ เช่น ระฆังดำน้ำ (Bell) Atmospheric Suit เป็นต้น
รูปแบบพิเศษ
การดำน้ำอิ่มตัว (Saturation Diving)
อุปกรณ์การดำน้ำ
สคูบา/SCUBA (Self - contsained Underwater Breathing Apparatus (UBA))
วงจรเปิด (Open -circuit SCUBA)
วงจรปิด และกึ่งปิด (Close -and Semi-closed circuit rebreathers (UBA))
อุปกรณ์ สพ.ทร.
Inspiration
RDN2000
MK-16
อุปกรณ์ นสร.กร.
LAR V
FGT
LAR VI
MK-16
อุปกรณ์ดำน้ำแบบรับอากาศจากผิวน้ำ (Surface Supplied UBA)